Difference between revisions of "STEM Engineering Design Process"
From Knowledge sharing space
(Created page with " == ความหมาย == STEM Engineering Design Process หรือ กระบวนการทางวิศวกรรมศาสตร์ เป็นกร...") |
(→ความหมาย) |
||
Line 1: | Line 1: | ||
+ | |||
+ | STEM Engineering Design Process หรือ กระบวนการทางวิศวกรรมศาสตร์ เป็นกระบวนการสอนแบบหนึ่งที่นิยมใช้ในการนำมาสอนในโรงเรียนต่างๆ ที่ประเทศสหรัฐอเมริกา เนื่องจากจากใช้กระบวนการทางวิศวกรรมศาสตร์เป็นการสอนให้เด็กรู้จักคิดในด้านต่างๆ เช่น [[การคิดสร้างสรรค์(Creativity)]] , การคิดแก้ปัญหา(Problem Solving) TEACH Engineering Resources from K-12 (2014) ได้กล่าวถึงเหตุผลที่สอนวิศวกรรมศาสตร์ เพราะเหตุผลดังนี้ | ||
+ | * 1) โลกมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ด้วยการออกแบบทางวิศวกรรมศาสตร์ที่เชื่อมโยงกับธรรมชาติและการใช้บูรณาการเนื้อหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ ในการสร้างสิ่งต่างๆ ในโลก | ||
+ | *2) เป็นการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ที่เด็กได้ลงมือสร้างสิ่งต่างๆ | ||
+ | *3) เป็นการเพิ่มความรู้ทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ | ||
+ | *4) มีบทเรียนในการสืบค้นและกิจกรรม | ||
+ | *5)ถ้าไม่ใช่วิศวกรก็จะไม่คิดแก้ปัญหา ทั้งที่วิศวกรรมศาสตร์คือสิ่งที่รอบตัวเรา วิศวกรรมศาสตร์เป็นเครื่องมือในการบูรณาการพื้นฐานทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ ด้วยคำถามปลายเปิดและการลงมือค้นหาด้วยการใช้วัสดุอุปกรณ์บทเรียนที่เหมาะสมกับอายุตามมาตรฐานของรัฐ | ||
+ | *6) ได้นำคอมพิวเตอร์มาแก้ปัญหาด้วยการใช้อินเทอร์เน็ตในการเรียนรู้เพื่อตอบคำถามจากหลักสูตรและบทเรียน เพื่อคุ้นเคยกับบทเรียนและเข้าใจโครงสร้างของบทเรียน 7) เพื่อให้เข้าใจวิศวกรรมศาสตร์มากขึ้น เพราะเด็กศตวรรษที่ 21 ควรเข้าใจว่าวิศวกรรมศาสตร์มีบทบาทอย่างไรในการสร้างเทคโนโลยี | ||
+ | |||
+ | ดังนั้น การนำวิศวกรรมศาสตร์มาใช้ในการสอนตั้งแต่อนุบาลถึงชั้นมัธยมศึกษาเป็นการช่วยให้เด็กคุ้นเคยกับวิศวกรรมศาสตร์ ปลูกฝังความและทักษะทางวิศวกรรมศาสตร์ที่เชื่อมโยงกับคณิตศาสตร์และเทคโนโลยีตั้งแต่เด็กอนุบาล และเป็นการสร้างอาชีพในด้านนี้ในมีจำนวนเพิ่มขึ้น | ||
== ความหมาย == | == ความหมาย == | ||
− |
Revision as of 07:44, 26 April 2018
STEM Engineering Design Process หรือ กระบวนการทางวิศวกรรมศาสตร์ เป็นกระบวนการสอนแบบหนึ่งที่นิยมใช้ในการนำมาสอนในโรงเรียนต่างๆ ที่ประเทศสหรัฐอเมริกา เนื่องจากจากใช้กระบวนการทางวิศวกรรมศาสตร์เป็นการสอนให้เด็กรู้จักคิดในด้านต่างๆ เช่น การคิดสร้างสรรค์(Creativity) , การคิดแก้ปัญหา(Problem Solving) TEACH Engineering Resources from K-12 (2014) ได้กล่าวถึงเหตุผลที่สอนวิศวกรรมศาสตร์ เพราะเหตุผลดังนี้
- 1) โลกมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ด้วยการออกแบบทางวิศวกรรมศาสตร์ที่เชื่อมโยงกับธรรมชาติและการใช้บูรณาการเนื้อหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ ในการสร้างสิ่งต่างๆ ในโลก
- 2) เป็นการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ที่เด็กได้ลงมือสร้างสิ่งต่างๆ
- 3) เป็นการเพิ่มความรู้ทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
- 4) มีบทเรียนในการสืบค้นและกิจกรรม
- 5)ถ้าไม่ใช่วิศวกรก็จะไม่คิดแก้ปัญหา ทั้งที่วิศวกรรมศาสตร์คือสิ่งที่รอบตัวเรา วิศวกรรมศาสตร์เป็นเครื่องมือในการบูรณาการพื้นฐานทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ ด้วยคำถามปลายเปิดและการลงมือค้นหาด้วยการใช้วัสดุอุปกรณ์บทเรียนที่เหมาะสมกับอายุตามมาตรฐานของรัฐ
- 6) ได้นำคอมพิวเตอร์มาแก้ปัญหาด้วยการใช้อินเทอร์เน็ตในการเรียนรู้เพื่อตอบคำถามจากหลักสูตรและบทเรียน เพื่อคุ้นเคยกับบทเรียนและเข้าใจโครงสร้างของบทเรียน 7) เพื่อให้เข้าใจวิศวกรรมศาสตร์มากขึ้น เพราะเด็กศตวรรษที่ 21 ควรเข้าใจว่าวิศวกรรมศาสตร์มีบทบาทอย่างไรในการสร้างเทคโนโลยี
ดังนั้น การนำวิศวกรรมศาสตร์มาใช้ในการสอนตั้งแต่อนุบาลถึงชั้นมัธยมศึกษาเป็นการช่วยให้เด็กคุ้นเคยกับวิศวกรรมศาสตร์ ปลูกฝังความและทักษะทางวิศวกรรมศาสตร์ที่เชื่อมโยงกับคณิตศาสตร์และเทคโนโลยีตั้งแต่เด็กอนุบาล และเป็นการสร้างอาชีพในด้านนี้ในมีจำนวนเพิ่มขึ้น