Difference between revisions of "PBL (Project-Based Learning)"
From Knowledge sharing space
(→ทฤษฎีและแนวคิดการสอนแบบโครงการ) |
(→การเตรียมตัวของผู้สอน) |
||
Line 9: | Line 9: | ||
== การเตรียมตัวของผู้สอน == | == การเตรียมตัวของผู้สอน == | ||
+ | 1. จัดสิ่งแวดล้อมและอำนวยความสะดวกจากครู เป็นการเรียนรู้ด้วยตนเองภายใต้การจัด สิ่งแวดล้อมโดยมีสาระสำคัญดังนี้ | ||
+ | :การเลือกหัวหน้าโครงการ | ||
+ | :กิจกรรมในการสอน
| ||
+ | :โอกาสแห่งการเรียนรู้
เด็กเป็นผู้เลือก | ||
+ | :ครูเป็นผู้เฝ้าติดตามความสนใจของผู้เรียน | ||
+ | :การจัดนิทรรศการห้องเรียน
| ||
+ | :ระยะเวลา | ||
+ | 2. ผู้สอนควรปฏิบัติดังนี้
| ||
+ | :เปิดโอกาสการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน โดยการสนับสนุน แนะนำ เตรียมสิ่งที่จะช่วยให้ผู้เรียนเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ที่จำเป็นได้
| ||
+ | :ครูควรสนับสนุนการเรียนรู้ของผู้เรียน โดยจัดโครงสร้างการเรียน สร้างแบบ แนะนำการทำงานให้แก่ผู้เรียน
| ||
+ | :กระตุ้นผู้เรียนในการเรียนรู้ โดยใช้กระบวนการรู้คิดของตนเอง | ||
+ | :ครูควรประเมินความก้าวหน้า วินิจฉัยปัญหาที่เกิด และให้ผลย้อนกลับแก่ผู้เรียน | ||
== การวัดและประเมินผล == | == การวัดและประเมินผล == |
Revision as of 15:09, 27 April 2018
การจัดการเรียนรู้แบบโครงการเป็นฐาน (Project-Based Learning) การจัดการเรียนรู้แบบโครงการเป็นฐาน เป็นการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับการพัฒนาผู้เรียนใน ศตวรรษที่ 21 ซึ่งประกอบด้วยประเด็นสำคัญ ดังนี้
Contents
ทฤษฎีและแนวคิดการสอนแบบโครงการ
การเรียนรู้แบบโครงการเป็นการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เป็นศูนย์กลางของการเรียนรู้ มีผู้กล่าวถึงความหมายไว้ดังนี้
- Lenschow (1996) อ้างถึงในวราภรณ์ ตระกูลสฤษดิ์ (2545) อธิบายว่าการเรียนการสอนแบบ โครงการหมายถึงการกระทำกิจกรรมร่วมกัน ช่วยเหลือกันในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น ภายในกลุ่มด้วยวิธีการ ปฏิบัติจริง เพื่อการเรียนรู้ การแก้ปัญหาอันจะนำไปสู่ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ แสวงหาความรู้และ หาแนวทางการแก้ปัญหาเหล่านั้น
- วราภรณ์ ตระกูลสฤษดิ์ (2545) กล่าวถึงการเรียนรู้แบบโครงการว่าเป็นเสมือนสะพานเชื่อม ระหว่างห้องเรียนกับโลกภายนอกซึ่งเป็นชีวิตจริงของผู้เรียน ทั้งนี้เพราะว่าผู้เรียนต้องนำเอาความรู้ที่ได้จาก การเรียนมาบูรณาการเข้ากับกิจกรรมที่กระทำเพื่อนำไปสู่ความรู้ใหม่ ๆ ด้วยการสร้างความหมาย การแก้ปัญหา และการค้นพบด้วยตัวเอง ผู้เรียนต้องสร้างและกำหนดความรู้จากความคิดและแนวคิดที่มีอยู่ กับแนวคิดและความคิดที่เกิดขึ้นใหม่ ทำให้เกิดการปรับเปลี่ยนความรู้ให้เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้สิ่งใหม่
การเตรียมตัวของผู้สอน
1. จัดสิ่งแวดล้อมและอำนวยความสะดวกจากครู เป็นการเรียนรู้ด้วยตนเองภายใต้การจัด สิ่งแวดล้อมโดยมีสาระสำคัญดังนี้
- การเลือกหัวหน้าโครงการ
- กิจกรรมในการสอน
- โอกาสแห่งการเรียนรู้ เด็กเป็นผู้เลือก
- ครูเป็นผู้เฝ้าติดตามความสนใจของผู้เรียน
- การจัดนิทรรศการห้องเรียน
- ระยะเวลา
2. ผู้สอนควรปฏิบัติดังนี้
- เปิดโอกาสการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน โดยการสนับสนุน แนะนำ เตรียมสิ่งที่จะช่วยให้ผู้เรียนเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ที่จำเป็นได้
- ครูควรสนับสนุนการเรียนรู้ของผู้เรียน โดยจัดโครงสร้างการเรียน สร้างแบบ แนะนำการทำงานให้แก่ผู้เรียน
- กระตุ้นผู้เรียนในการเรียนรู้ โดยใช้กระบวนการรู้คิดของตนเอง
- ครูควรประเมินความก้าวหน้า วินิจฉัยปัญหาที่เกิด และให้ผลย้อนกลับแก่ผู้เรียน