Difference between revisions of "การเรียนรู้แบบร่วมกัน"

From Knowledge sharing space
Jump to: navigation, search
Line 1: Line 1:
การเรียนรู้แบบร่วมมือกัน(Coorporative Learning)
+
การเรียนรู้แบบร่วมกัน(Coorporative Learning)
  
การเรียนแบบการร่วมมือ หรือการเรียนแบบสหร่วมใจ (Coorporative Learning)เป็นการเรียนที่ผู้ร่วมมือกัน ทำกิจกรรมในการเรียนทำตามหน้าที่ของตนเองให้สำเร็จตามจุดมุ่งหมายหรือหัวข้อที่ผู้เรียนได้รับมอบหมายไว้ซึ่งเป็นการทำงานเป็นกลุ่มตั้งแต่2คนขึ้นไป ส่วนใหญ่ผู้เรียนจะเลือกทำงานกับเพื่อนที่ทำงานด้วยกันได้FelderและBrent(2014)ได้กล่าวถึงความหมายของการเรียนแบบร่วมมือว่าหมายถึงการที่นักเรียนทำงานเป็นทีมตามงานที่ได้รับมอบหมายหรือโครงงานภายใต้สถานการณ์ที่พอใจโดยสมาชิกแต่ละคนมีหน้าที่รับผิดชอบงานของตนให้บรรลุเป้าหมาย จอห์นสันและจอห์นสัน(Johnson and Johnson,1975)ได้สรุปรูปแบบการเรียนแบบร่วมใจ ว่าคือ1) มีการแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มย่อย2-6คน2) สมาชิกทุกคนมีเป้าหมายเพื่อให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีขึ้น ได้คะแนนสูงขึ้น3) มีการแบ่งงานและความรับผิดชอบของสมาชิกแต่ละคนในกลุ่ม ความสำเร็จของทุกคนคือความสำเร็จของกลุ่ม 4) สมาชิกทุกคนในกลุ่มไว้ใจและยอมรับกันและกัน 5) สมาชิกทุกคนมีหน้าที่ช่วยเหลือกันและกัน (วศีนี, 2560)
+
คือ การเรียนแบบการร่วมมือ หรือการเรียนแบบสหร่วมใจ (Coorporative Learning)เป็นการเรียนที่ผู้ร่วมมือกัน ทำกิจกรรมในการเรียนทำตามหน้าที่ของตนเองให้สำเร็จตามจุดมุ่งหมายหรือหัวข้อที่ผู้เรียนได้รับมอบหมายไว้ซึ่งเป็นการทำงานเป็นกลุ่มตั้งแต่2คนขึ้นไป ส่วนใหญ่ผู้เรียนจะเลือกทำงานกับเพื่อนที่ทำงานด้วยกันได้ วศิณีส์(2560)ได้กล่าวถึงความหมายของการเรียนแบบร่วมมือว่าหมายถึงการที่นักเรียนทำงานเป็นทีมตามงานที่ได้รับมอบหมายหรือโครงงานภายใต้สถานการณ์ที่พอใจโดยสมาชิกแต่ละคนมีหน้าที่รับผิดชอบงานของตนให้บรรลุเป้าหมาย  
 +
นอกจากนี้ จอห์นสันและจอห์นสัน(Johnson and Johnson,1975)ได้สรุปรูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมกัน ว่าคือ
 +
*1) มีการแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มย่อย2-6คน
 +
*2) สมาชิกทุกคนมีเป้าหมายเพื่อให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีขึ้น ได้คะแนนสูงขึ้น
 +
*3) มีการแบ่งงานและความรับผิดชอบของสมาชิกแต่ละคนในกลุ่ม ความสำเร็จของทุกคนคือความสำเร็จของกลุ่ม  
 +
*4) สมาชิกทุกคนในกลุ่มไว้ใจและยอมรับกันและกัน  
 +
*5) สมาชิกทุกคนมีหน้าที่ช่วยเหลือกันและกัน
  
 
เจคอป(Jacob,2004) ได้กล่าวถึงหลักการจัดการเรียนแบบร่วมมือ มี 8 ข้อได้แก่
 
เจคอป(Jacob,2004) ได้กล่าวถึงหลักการจัดการเรียนแบบร่วมมือ มี 8 ข้อได้แก่
 
*1)การจัดกลุ่มที่มีความแตกต่างกัน(Heterogenerous groups) หมายถึงการจัดกลุ่ที่เด็กทำงานร่วมกันด้วยการคละกลุ่มหนึ่งต่อหนึ่งหรือต่อจำนวนต่างๆ ในด้านเพศ ศาสนา ฐานะทางสังคม อายุ ความสามารถทางภาษา หรือความขยัน
 
*1)การจัดกลุ่มที่มีความแตกต่างกัน(Heterogenerous groups) หมายถึงการจัดกลุ่ที่เด็กทำงานร่วมกันด้วยการคละกลุ่มหนึ่งต่อหนึ่งหรือต่อจำนวนต่างๆ ในด้านเพศ ศาสนา ฐานะทางสังคม อายุ ความสามารถทางภาษา หรือความขยัน
*2)ทักษะการทำงานร่วมกัน(Colladorative Skills) หมายถึง การใช้เหตุผลหรือทักษะที่จำเป็นในการทำงานร่วมกับผู้อื่น ภาษาเป็นทักษะที่จำเป็นในการทำงานร่วมกับผู้อื่น ทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่นเป็นสิ่งจำเป็นที่จะต้องสอนเด็ก
+
*2)ทักษะการทำงานร่วมกัน(Collaborative Skills) หมายถึง การใช้เหตุผลหรือทักษะที่จำเป็นในการทำงานร่วมกับผู้อื่น ภาษาเป็นทักษะที่จำเป็นในการทำงานร่วมกับผู้อื่น ทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่นเป็นสิ่งจำเป็นที่จะต้องสอนเด็ก
 
*3) การให้กลุ่มดูแลตนเอง(Group Autonomous)หมายถึง การที่เด็กทำงานด้วยกลุ่มของตนเองมากกว่าพึ่งพาครู ในเวลาที่มีปัญหาในกลุ่มครูก็มักยื่นมือเข้าไปช่วย ซึ่งที่จริงแล้วครูควรเชื่อใจเด็ก และให้เด็กได้รับผิดชอบตนเอง
 
*3) การให้กลุ่มดูแลตนเอง(Group Autonomous)หมายถึง การที่เด็กทำงานด้วยกลุ่มของตนเองมากกว่าพึ่งพาครู ในเวลาที่มีปัญหาในกลุ่มครูก็มักยื่นมือเข้าไปช่วย ซึ่งที่จริงแล้วครูควรเชื่อใจเด็ก และให้เด็กได้รับผิดชอบตนเอง
 
*4) การมีปฏิสัมพันธ์ในกลุ่มให้มากที่สุด (Maximum Peer Interaction) หมายถึง ในขณะที่เด็ก2-4 คน ทำงานร่วมกัน เราควรให้เด็กมีปฏิสัมพันธ์มากที่สุดในการแสดงความคิดเห็น การตอบคำถาม และควรให้มีคุณภาพที่สุดด้วย
 
*4) การมีปฏิสัมพันธ์ในกลุ่มให้มากที่สุด (Maximum Peer Interaction) หมายถึง ในขณะที่เด็ก2-4 คน ทำงานร่วมกัน เราควรให้เด็กมีปฏิสัมพันธ์มากที่สุดในการแสดงความคิดเห็น การตอบคำถาม และควรให้มีคุณภาพที่สุดด้วย
*5)ให้โอกาสในการมีส่วนร่วมอย่างเท่าเทียมกัน(Equal Opportunity to Participate)บ่อยครั้งที่จะมีเด็ก 1 คน 2 คน ทำหน้าที่เป็นผู้นำในกลุ่มแต่การเรียนแบบมีส่วนร่วมจะให้โอกาสทุกๆคน มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นหรือทำงานอย่างเท่าเทียมกัน
+
*5)ให้โอกาสในการมีส่วนร่วมอย่างเท่าเทียมกัน(Equal Opportunity to Participate) บ่อยครั้งที่จะมีเด็ก 1 คน 2 คน ทำหน้าที่เป็นผู้นำในกลุ่มแต่การเรียนแบบมีส่วนร่วมจะให้โอกาสทุกๆคน มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นหรือทำงานอย่างเท่าเทียมกัน
*6) แต่ละคนมีความรับผิดชอบ(Individual Accountability)หมายถึง ครูพยายามกระตุ้นให้เด็กเกิดความรับผิดชอบในกลุ่ม เพื่อให้เรียนรู้ แบ่งปันความรู้ และเสนอความคิดเห็นกับเพื่อนในกลุ่ม
+
*6) แต่ละคนมีความรับผิดชอบ(Individual Accountability) หมายถึง ครูพยายามกระตุ้นให้เด็กเกิดความรับผิดชอบในกลุ่ม เพื่อให้เรียนรู้ แบ่งปันความรู้ และเสนอความคิดเห็นกับเพื่อนในกลุ่ม
 
*7) การพึ่งพากันในเชิงบวก(Positive Interdependence) หมายถึง สมาชิกมีความรู้สึกดีๆต่อกัน ถ้าช่วยคนหนึ่งก็เหมือนช่วยคนอื่นๆ ถ้าคนหนึ่งรู้สึกเจ็บ คนอื่นๆ ในกลุ่มก็รู้สึกด้วย ทุกคนช่วยกันและมีจุดมุ่งหมายเดียวกัน
 
*7) การพึ่งพากันในเชิงบวก(Positive Interdependence) หมายถึง สมาชิกมีความรู้สึกดีๆต่อกัน ถ้าช่วยคนหนึ่งก็เหมือนช่วยคนอื่นๆ ถ้าคนหนึ่งรู้สึกเจ็บ คนอื่นๆ ในกลุ่มก็รู้สึกด้วย ทุกคนช่วยกันและมีจุดมุ่งหมายเดียวกัน
 
*8) การร่วมมือคือสิ่งที่มีคุณค่า(Cooperation as Value) หมายถึง การเรียนรู้แบบร่วมมือเป็นสิ่งที่มากกว่าวิธีการเรียนรู้เป็นเนื้อหาของการเรียนรู้ว่าจะเรียนรู้อะไร และนำไปสู่ธรรมชาติในการเรียนรู้การมีความรู้สึกพึ่งพาทางบวก การเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม หรือสมาชิกในกลุ่ม ขยายความรู้สึกจากการเป็นสมาชิกในกลุ่มเล็กๆไปสู่ห้องเรียนสู่โรงเรียนและสังคมที่มีคนเพิ่มขึ้นเป็นวงจรของผู้ที่มีของผู้ที่มีส่วมร่วมทำงานด้วยกัน
 
*8) การร่วมมือคือสิ่งที่มีคุณค่า(Cooperation as Value) หมายถึง การเรียนรู้แบบร่วมมือเป็นสิ่งที่มากกว่าวิธีการเรียนรู้เป็นเนื้อหาของการเรียนรู้ว่าจะเรียนรู้อะไร และนำไปสู่ธรรมชาติในการเรียนรู้การมีความรู้สึกพึ่งพาทางบวก การเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม หรือสมาชิกในกลุ่ม ขยายความรู้สึกจากการเป็นสมาชิกในกลุ่มเล็กๆไปสู่ห้องเรียนสู่โรงเรียนและสังคมที่มีคนเพิ่มขึ้นเป็นวงจรของผู้ที่มีของผู้ที่มีส่วมร่วมทำงานด้วยกัน
Line 17: Line 23:
 
== เอกสารอ้างอิง ==
 
== เอกสารอ้างอิง ==
 
วศิณีส์ อิศรเสนา ณ อยุธยา. (2560). เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับ STEM Education(สะเต็มศึกษา). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
 
วศิณีส์ อิศรเสนา ณ อยุธยา. (2560). เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับ STEM Education(สะเต็มศึกษา). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Jacob, G.M. (2004). Cooperative Learning theory, principles, and
+
Jacob, G.M. (2004). Cooperative Learning theory, principles, and
 +
Johnson and Johnson,1975

Revision as of 16:37, 24 April 2018

การเรียนรู้แบบร่วมกัน(Coorporative Learning)

คือ การเรียนแบบการร่วมมือ หรือการเรียนแบบสหร่วมใจ (Coorporative Learning)เป็นการเรียนที่ผู้ร่วมมือกัน ทำกิจกรรมในการเรียนทำตามหน้าที่ของตนเองให้สำเร็จตามจุดมุ่งหมายหรือหัวข้อที่ผู้เรียนได้รับมอบหมายไว้ซึ่งเป็นการทำงานเป็นกลุ่มตั้งแต่2คนขึ้นไป ส่วนใหญ่ผู้เรียนจะเลือกทำงานกับเพื่อนที่ทำงานด้วยกันได้ วศิณีส์(2560)ได้กล่าวถึงความหมายของการเรียนแบบร่วมมือว่าหมายถึงการที่นักเรียนทำงานเป็นทีมตามงานที่ได้รับมอบหมายหรือโครงงานภายใต้สถานการณ์ที่พอใจโดยสมาชิกแต่ละคนมีหน้าที่รับผิดชอบงานของตนให้บรรลุเป้าหมาย นอกจากนี้ จอห์นสันและจอห์นสัน(Johnson and Johnson,1975)ได้สรุปรูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมกัน ว่าคือ

  • 1) มีการแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มย่อย2-6คน
  • 2) สมาชิกทุกคนมีเป้าหมายเพื่อให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีขึ้น ได้คะแนนสูงขึ้น
  • 3) มีการแบ่งงานและความรับผิดชอบของสมาชิกแต่ละคนในกลุ่ม ความสำเร็จของทุกคนคือความสำเร็จของกลุ่ม
  • 4) สมาชิกทุกคนในกลุ่มไว้ใจและยอมรับกันและกัน
  • 5) สมาชิกทุกคนมีหน้าที่ช่วยเหลือกันและกัน

เจคอป(Jacob,2004) ได้กล่าวถึงหลักการจัดการเรียนแบบร่วมมือ มี 8 ข้อได้แก่

  • 1)การจัดกลุ่มที่มีความแตกต่างกัน(Heterogenerous groups) หมายถึงการจัดกลุ่ที่เด็กทำงานร่วมกันด้วยการคละกลุ่มหนึ่งต่อหนึ่งหรือต่อจำนวนต่างๆ ในด้านเพศ ศาสนา ฐานะทางสังคม อายุ ความสามารถทางภาษา หรือความขยัน
  • 2)ทักษะการทำงานร่วมกัน(Collaborative Skills) หมายถึง การใช้เหตุผลหรือทักษะที่จำเป็นในการทำงานร่วมกับผู้อื่น ภาษาเป็นทักษะที่จำเป็นในการทำงานร่วมกับผู้อื่น ทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่นเป็นสิ่งจำเป็นที่จะต้องสอนเด็ก
  • 3) การให้กลุ่มดูแลตนเอง(Group Autonomous)หมายถึง การที่เด็กทำงานด้วยกลุ่มของตนเองมากกว่าพึ่งพาครู ในเวลาที่มีปัญหาในกลุ่มครูก็มักยื่นมือเข้าไปช่วย ซึ่งที่จริงแล้วครูควรเชื่อใจเด็ก และให้เด็กได้รับผิดชอบตนเอง
  • 4) การมีปฏิสัมพันธ์ในกลุ่มให้มากที่สุด (Maximum Peer Interaction) หมายถึง ในขณะที่เด็ก2-4 คน ทำงานร่วมกัน เราควรให้เด็กมีปฏิสัมพันธ์มากที่สุดในการแสดงความคิดเห็น การตอบคำถาม และควรให้มีคุณภาพที่สุดด้วย
  • 5)ให้โอกาสในการมีส่วนร่วมอย่างเท่าเทียมกัน(Equal Opportunity to Participate) บ่อยครั้งที่จะมีเด็ก 1 คน 2 คน ทำหน้าที่เป็นผู้นำในกลุ่มแต่การเรียนแบบมีส่วนร่วมจะให้โอกาสทุกๆคน มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นหรือทำงานอย่างเท่าเทียมกัน
  • 6) แต่ละคนมีความรับผิดชอบ(Individual Accountability) หมายถึง ครูพยายามกระตุ้นให้เด็กเกิดความรับผิดชอบในกลุ่ม เพื่อให้เรียนรู้ แบ่งปันความรู้ และเสนอความคิดเห็นกับเพื่อนในกลุ่ม
  • 7) การพึ่งพากันในเชิงบวก(Positive Interdependence) หมายถึง สมาชิกมีความรู้สึกดีๆต่อกัน ถ้าช่วยคนหนึ่งก็เหมือนช่วยคนอื่นๆ ถ้าคนหนึ่งรู้สึกเจ็บ คนอื่นๆ ในกลุ่มก็รู้สึกด้วย ทุกคนช่วยกันและมีจุดมุ่งหมายเดียวกัน
  • 8) การร่วมมือคือสิ่งที่มีคุณค่า(Cooperation as Value) หมายถึง การเรียนรู้แบบร่วมมือเป็นสิ่งที่มากกว่าวิธีการเรียนรู้เป็นเนื้อหาของการเรียนรู้ว่าจะเรียนรู้อะไร และนำไปสู่ธรรมชาติในการเรียนรู้การมีความรู้สึกพึ่งพาทางบวก การเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม หรือสมาชิกในกลุ่ม ขยายความรู้สึกจากการเป็นสมาชิกในกลุ่มเล็กๆไปสู่ห้องเรียนสู่โรงเรียนและสังคมที่มีคนเพิ่มขึ้นเป็นวงจรของผู้ที่มีของผู้ที่มีส่วมร่วมทำงานด้วยกัน

การเรียนแบบ STEM เป็นการเรียนที่มีทั้งเด็กทำงานตามลำพังและเด็กทำงานร่วมกัน โดยครูเป็นผู้แนะนำและอำนวยความสะดวก เด็กต้องแบ่งปันความรู้ใช้กระบวนการในการทำงาน และผลงานที่ทำให้เพื่อนได้มีความรู้และประสบการณ์ร่วมกัน ส่วนใหญ่กระบวนการสอนแบบSTEMจึงจัดให้เด็กร่วมมือกัน นอกจากนี้ เด็กยังได้ฝึกทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่น การแบ่งปัน การรู้จักกบทบาทหน้าที่ของตนเอง การรับผิดชอบเพื่อให้งานที่ทำบรรลุเป้าหมาย ซึ่งตรงกับทักษะในศตวรรษที่21ที่มนุษย์ควรมีและเหมาะกับการศึกษาของประเทศไทยที่ต้องการพัฒนาคไทยให้มีความสามัคคี ร่วมใจในการทำสิ่งต่างๆมีน้ำใจ ประชาธิปไตย และ ในการสอนSTEM ด้วย (วศิณีส์, 2560)

เอกสารอ้างอิง

วศิณีส์ อิศรเสนา ณ อยุธยา. (2560). เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับ STEM Education(สะเต็มศึกษา). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. Jacob, G.M. (2004). Cooperative Learning theory, principles, and Johnson and Johnson,1975