Difference between revisions of "วิธีสอนแบบโสเครติส"
Line 58: | Line 58: | ||
เธอรู้ได้อย่างไร? | เธอรู้ได้อย่างไร? | ||
+ | |||
ลองแสดงให้ดู หรือ แสดงให้เห็นว่า…………..? | ลองแสดงให้ดู หรือ แสดงให้เห็นว่า…………..? | ||
+ | |||
เธอจะยกตัวอย่างที่เกี่ยวกับเรื่องนี้ได้หรือไม่? | เธอจะยกตัวอย่างที่เกี่ยวกับเรื่องนี้ได้หรือไม่? | ||
+ | |||
เธอคิดว่าเรื่องนี้มีสาเหตุมาจากอะไร? | เธอคิดว่าเรื่องนี้มีสาเหตุมาจากอะไร? | ||
+ | |||
เธอยืนยันเรื่องที่พูดได้หรือไม่? | เธอยืนยันเรื่องที่พูดได้หรือไม่? | ||
+ | |||
เหตุผลที่เธอพูดมา เธอคิดว่าเพียงพอแล้วหรือยัง | เหตุผลที่เธอพูดมา เธอคิดว่าเพียงพอแล้วหรือยัง | ||
+ | |||
เรื่องนี้มีข้อหักล้างได้หรือไม่? | เรื่องนี้มีข้อหักล้างได้หรือไม่? | ||
+ | |||
ครูจะเชื่อได้อย่างไรในสิ่งที่เธอพูด? | ครูจะเชื่อได้อย่างไรในสิ่งที่เธอพูด? | ||
− | Questioning | + | 4. Questioning Viewpoints and Perspectives |
− | + | ||
+ | เป็นคำถามที่ต้องการให้ผู้เรียนได้แสดงความคิดเห็นหรือเสนอมุมมองอื่นๆอีกที่เชื่อถือได้ ตัวอย่างคำถามที่ใช้ เช่น | ||
+ | |||
เรื่องนี้ยังมีแง่มุมอื่นที่มีเชื่อถือได้อีกหรือไม่? | เรื่องนี้ยังมีแง่มุมอื่นที่มีเชื่อถือได้อีกหรือไม่? | ||
+ | |||
ทางเลือกอื่นในการพิจารณาเรื่องนี้มีอีกหรือไม่? | ทางเลือกอื่นในการพิจารณาเรื่องนี้มีอีกหรือไม่? | ||
+ | |||
ทำไมเรื่อง………….จึงมีความสำคัญ? | ทำไมเรื่อง………….จึงมีความสำคัญ? | ||
+ | |||
ข้อแตกต่างระหว่าง………กับ………..คืออะไร? | ข้อแตกต่างระหว่าง………กับ………..คืออะไร? | ||
+ | |||
ทำไมเรื่องนี้จึงดีกว่า………..? | ทำไมเรื่องนี้จึงดีกว่า………..? | ||
+ | |||
จุดเด่นและจุดด้อยของ………คืออะไร? | จุดเด่นและจุดด้อยของ………คืออะไร? | ||
+ | |||
………….กับ…………เหมือนกันอย่างไร? | ………….กับ…………เหมือนกันอย่างไร? | ||
+ | |||
เธอสามารถมองเรื่องนี้ในแง่มุมอื่นได้หรือไม่? | เธอสามารถมองเรื่องนี้ในแง่มุมอื่นได้หรือไม่? | ||
+ | |||
ถ้าเธอเปรียบเทียบ………….กับ…………….จะเป็นอย่างไร? | ถ้าเธอเปรียบเทียบ………….กับ…………….จะเป็นอย่างไร? | ||
− | Probe | + | 5. Probe Implications and Consequences |
− | + | ||
+ | เป็นคำถามที่ต้องการให้ผู้เรียนคาดคะเนเกี่ยวกับการนำไปใช้และผลที่อาจเกิดตามมาภายหลัง ตัวอย่างคำถามที่นำมาใช้ เช่น | ||
+ | |||
ถ้าไม่มีพระอาทิตย์ จะเกิดอะไรขึ้นกับโลกของเรา? | ถ้าไม่มีพระอาทิตย์ จะเกิดอะไรขึ้นกับโลกของเรา? | ||
+ | |||
ผลที่อาจเกิดขึ้นภายหลังของข้อสันนิษฐานนี้คืออะไร? | ผลที่อาจเกิดขึ้นภายหลังของข้อสันนิษฐานนี้คืออะไร? | ||
− | + | ||
เรื่องนี้จะมีผลกระทบต่อใครบ้าง? | เรื่องนี้จะมีผลกระทบต่อใครบ้าง? | ||
+ | |||
สิ่งที่กำลังพูดกันอยู่นี้สอดคล้องกับเนื้อหาที่เรียนอย่างไร? | สิ่งที่กำลังพูดกันอยู่นี้สอดคล้องกับเนื้อหาที่เรียนอย่างไร? | ||
− | |||
− | Questions about the | + | สิ่งที่ดีที่สุดของ………….คืออะไร? เพราะเหตุใด? |
+ | |||
+ | 6. Questions about the Question | ||
+ | |||
+ | เป็นคำถามที่ต้องการให้ผู้เรียนคิดทบทวนเกี่ยวกับคำถามที่ได้ | ||
+ | |||
ถามไปแล้ว ลักษณะของการถามจึงเป็นการสะท้อนคำถามกลับไปยังผู้ถามอีกครั้งหนึ่ง ตัวอย่างคำถามที่นำมาใช้ เช่น | ถามไปแล้ว ลักษณะของการถามจึงเป็นการสะท้อนคำถามกลับไปยังผู้ถามอีกครั้งหนึ่ง ตัวอย่างคำถามที่นำมาใช้ เช่น | ||
+ | |||
ประเด็นของการตั้งคำถามข้อนี้คืออะไร? | ประเด็นของการตั้งคำถามข้อนี้คืออะไร? | ||
+ | |||
เธอคิดว่าครูถามคำถามข้อนี้เพราะเหตุใด? | เธอคิดว่าครูถามคำถามข้อนี้เพราะเหตุใด? | ||
− | คำถามนี้หมายความว่าอย่างไร | + | |
− | + | คำถามนี้หมายความว่าอย่างไร? | |
− | ทำให้ได้ความรู้ที่เป็นข้อเท็จจริง (factual information) | + | |
− | ทำให้เกิดความเชื่อโยงวามคิดรวบยอดต่างๆได้ (connecting concepts) | + | จาหทั้ง 6ตัวอย่างที่ผู้เขียนได้ยกตัวอย่างข้างต้น คำถามดังกล่าวอาจมีผู้คิดว่าวิธีโสเครติสเป็นวิธีที่ง่าย แต่โดยข้อเท็จจริงแล้วเป็นวิธีที่มีความเข้มงวดมาก เนื่องจากโสเครติสเชื่อว่า ความรู้ (Knowledge) และ การตระหนักรู้ (awareness) เป็นส่วนที่อยู่ภายในของเราทุกคน ดังนั้น ผู้ที่จะฝึกฝนการสอนที่ดีจะต้องพยายามเข้าให้ถึงระดับของความรู้และการตระหนักรู้ที่ซ่อนอยู่ภายในตัวผู้เรียนให้มากที่สุด เพื่อช่วยให้ผู้เรียนก้าวไปสู่การคิดในระดับใหม่ๆ ได้ คำถามที่ดีจึงมีประโยชน์ต่อการเรียนรู้ คือ |
− | ช่วยทำให้ได้ข้อสรุปหรือข้อวินิจฉัย (making inferences) ที่สามารถอ้างอิงได้ | + | |
− | ทำให้ผู้เรียนมีการตระหนักรู้มากขึ้น (increasing awareness) | + | *ทำให้ได้ความรู้ที่เป็นข้อเท็จจริง (factual information) |
− | ส่งเสริมความคิดริเริ่มและการคิดแบบจินตนาการ (encouraging creative and imaginative thought) | + | *ทำให้เกิดความเชื่อโยงวามคิดรวบยอดต่างๆได้ (connecting concepts) |
− | ช่วยให้เกิดกระบวนการคิดเชิงวิพากษ์ (aiding critical thinking processes) | + | *ช่วยทำให้ได้ข้อสรุปหรือข้อวินิจฉัย (making inferences) ที่สามารถอ้างอิงได้ |
− | ช่วยเหลือผู้เรียนในการสำรวจความรู้ การคิด และการเข้าใจในระดับที่ลึกมากขึ้น (helping learners explore deeper levels of knowing thinking, and understanding) | + | *ทำให้ผู้เรียนมีการตระหนักรู้มากขึ้น (increasing awareness) |
+ | *ส่งเสริมความคิดริเริ่มและการคิดแบบจินตนาการ (encouraging creative and imaginative thought) | ||
+ | *ช่วยให้เกิดกระบวนการคิดเชิงวิพากษ์ (aiding critical thinking processes) | ||
+ | *ช่วยเหลือผู้เรียนในการสำรวจความรู้ การคิด และการเข้าใจในระดับที่ลึกมากขึ้น (helping learners explore deeper levels of knowing thinking, and understanding) | ||
ประโยชน์ที่ได้รับ | ประโยชน์ที่ได้รับ |
Revision as of 16:46, 26 October 2018
ความหมาย วิธีโสเครติส (Socrates method)
โสเครติส (Socrates, 469-399 B.C.E) นักปรัชญาและนักการศึกษาชาวกรีกที่มีชื่อเสียงซึ่งได้รับการยอมรับจากทั่วโลกในฐานะ นักคิดที่ยิ่งใหญ่ของปรัชญาตะวันตก (The great thinker of western philosophy) เป็นครูสอนตรรกวิทยาและหลักการประชาธิปไตย รูปแบบการสอนของโสเครติสจะไม่ใช่สอนโดยวิธีบรรยาย แต่จะสอนด้วยการสนทนาและการถามตอบโดยจะตั้งคำถามหลายๆข้อ เพื่อให้นักเรียนดึงความรู้จากประสบการณ์ออกมาให้ได้ การสนทนาระหว่างโสเครติสกับนักศึกษาจะดำเนินไปทีละขั้นตอนตามแนวทางที่นักปรัชญาในอดีตเคยใช้ในการค้นหาความรู้ นักเรียนแต่ละคนจะทำงานหนักเช่นเดียวกันกับครู เนื่องจากครูจะป้อนคำถามไปเรื่อยจนกว่านักเรียนจะพบคำตบด้วยตัวเอง วิธีการนี้ผู้เรียนสามารถสร้างองค์ความรู้ได้ (มัณฑรา ธรรมบุศย์)
ธีรพงศ์ แก่นอินทร์ ได้ระบุว่า วิธีสอนแบบโสเครติส เป็นการจัดการเรียนการสอนที่ให้ผู้เรียนใช้เหตุผลในการสืบค้นร่วมกันโดยการสนทนา (Dialogical enquiry) และมีการใช้คำถามแบบต่อเนื่องเป็นเครื่องมือสำคัญเพื่อเข้าถึงความจริง
ลักษณะวิธีการสอนแบบโสเครติส
เทคนิคการตั้งถามโดยวิธีโสเครติส
การตั้งคำถามโดยวิธีโสเครติสมีเป้าหมายหลัก คือ เพื่อท้าทายนักเรียนให้ค้นหาตำตอบจากการคิดจนกว่าจะได้คำตอบที่สมบูรณ์และถูกต้อง คำถามที่โสเครติสมักใช้ในการสอนมีอยู่ 6 ประเภท ดังนี้
1. Conceptual Clarification Questions
เป็นคำถามที่ผู้สอนต้องการให้ผู้เรียนทำความกระจ่างกับคำตอบตนเอง โดยให้ผู้เรียนทบทวนอีกครั้งหนึ่งถึงจุดประสงค์ที่แท้จริงของคำถาม หรือความถูกต้องของคำตอบ เป็นการตรวจสอบความคิดของตนเองหลังจากให้คำตอบไปแล้ว หรือหลังจากมรการอภิปรายถกเถียงกันในกลุ่มแล้ว คำถามแบบนี้จึงมีลักษณะของคำถามที่ต้องการให้ผู้เรียนบอกความคิดเพิ่มเติมเพื่อให้ได้คำตอบที่เจาะลึกมากขึ้น
ตัวอย่างคำถามผู้สอนสามารถนำไปใช้ เช่น
ทำไมเธอจึงตอบอย่างนั้น?
ความหมายที่ถูกต้องจริงๆ คืออะไรกันแน่
คำตอบของเธอเกี่ยวข้องกับสิ่งที่เรากำลังพูดถึงอย่างไร?
สรุปว่าตอนนี้เรารู้อะไรเกี่ยวกับ………….บ้าง
เธอยกตัวอย่างในสิ่งที่เธอกำลังพูดได้ไหม?
เธอกำลังพูดว่า……………หรือ…………..ใช่ไหม?
ลองพูดซ้ำอีกครั้งจะได้ไหม?
2. Probing Assumptions เป็นคำถามที่ต้องการให้ผู้เรียนคิดเกี่ยวกับข้อสันนิฐานและความเชื่อต่างๆ ที่ยังไม่แน่นอนซึ่งนักเรียนค้นพบในระหว่างที่มีการอภิปรายร่วมกัน คำถามที่ใช้จึงเป็นคำถามที่ต้องการหาข้อเท็จจริง
ตัวอย่างคำถามที่ใช้ เช่น
นอกจาก……………….ยังสามารถสันนิษฐานในแง่มุมใดได้อีก?
ดูเหมือนเธอจะสันนิษฐานว่า……….ใช่ไหม?
เธอเลือกข้อสันนิษฐานเหล่านี้มาโดยวิธีใด?
ลองอธิบายว่าทำไม/อย่างไร……………..?
เธอจะพิสูจน์หรือตรวจสอบข้อสันนิษฐานนี้ได้อย่างไร?
จะเกิดอะไรขึ้น ถ้า……………?
3. Probing Rationale, Reasons and Evidence
เนื่องจากคนส่วนใหญ่มักจะแสดงความคิดเห็นโดยขาดเหตุผลหรือมีข้อสนับสนุนที่ยังอ่อนด้อยเกินไป
ดังนั้น คำถามประเภทนี้จึงต้องการให้ผู้เรียนคิดหาเหตุผลเพิ่มเติมเพื่อสนับสนุนคำตอบที่ได้จากการอภิปรายถกเถียงกัน โดยต้องเป็นความคิดที่สมเหตุสมผล มีหลักฐานยืนยัน ไม่ใช่เป็นเพียงข้อสันนิษฐานเท่านั้น
ตัวอย่างคำถามที่ใช้ เช่น
ทำไมจึงเกิดเหตุการณ์นี้ขึ้น?
เธอรู้ได้อย่างไร?
ลองแสดงให้ดู หรือ แสดงให้เห็นว่า…………..?
เธอจะยกตัวอย่างที่เกี่ยวกับเรื่องนี้ได้หรือไม่?
เธอคิดว่าเรื่องนี้มีสาเหตุมาจากอะไร?
เธอยืนยันเรื่องที่พูดได้หรือไม่?
เหตุผลที่เธอพูดมา เธอคิดว่าเพียงพอแล้วหรือยัง
เรื่องนี้มีข้อหักล้างได้หรือไม่?
ครูจะเชื่อได้อย่างไรในสิ่งที่เธอพูด?
4. Questioning Viewpoints and Perspectives
เป็นคำถามที่ต้องการให้ผู้เรียนได้แสดงความคิดเห็นหรือเสนอมุมมองอื่นๆอีกที่เชื่อถือได้ ตัวอย่างคำถามที่ใช้ เช่น
เรื่องนี้ยังมีแง่มุมอื่นที่มีเชื่อถือได้อีกหรือไม่?
ทางเลือกอื่นในการพิจารณาเรื่องนี้มีอีกหรือไม่?
ทำไมเรื่อง………….จึงมีความสำคัญ?
ข้อแตกต่างระหว่าง………กับ………..คืออะไร?
ทำไมเรื่องนี้จึงดีกว่า………..?
จุดเด่นและจุดด้อยของ………คืออะไร?
………….กับ…………เหมือนกันอย่างไร?
เธอสามารถมองเรื่องนี้ในแง่มุมอื่นได้หรือไม่?
ถ้าเธอเปรียบเทียบ………….กับ…………….จะเป็นอย่างไร?
5. Probe Implications and Consequences
เป็นคำถามที่ต้องการให้ผู้เรียนคาดคะเนเกี่ยวกับการนำไปใช้และผลที่อาจเกิดตามมาภายหลัง ตัวอย่างคำถามที่นำมาใช้ เช่น
ถ้าไม่มีพระอาทิตย์ จะเกิดอะไรขึ้นกับโลกของเรา?
ผลที่อาจเกิดขึ้นภายหลังของข้อสันนิษฐานนี้คืออะไร?
เรื่องนี้จะมีผลกระทบต่อใครบ้าง?
สิ่งที่กำลังพูดกันอยู่นี้สอดคล้องกับเนื้อหาที่เรียนอย่างไร?
สิ่งที่ดีที่สุดของ………….คืออะไร? เพราะเหตุใด?
6. Questions about the Question
เป็นคำถามที่ต้องการให้ผู้เรียนคิดทบทวนเกี่ยวกับคำถามที่ได้
ถามไปแล้ว ลักษณะของการถามจึงเป็นการสะท้อนคำถามกลับไปยังผู้ถามอีกครั้งหนึ่ง ตัวอย่างคำถามที่นำมาใช้ เช่น
ประเด็นของการตั้งคำถามข้อนี้คืออะไร?
เธอคิดว่าครูถามคำถามข้อนี้เพราะเหตุใด?
คำถามนี้หมายความว่าอย่างไร?
จาหทั้ง 6ตัวอย่างที่ผู้เขียนได้ยกตัวอย่างข้างต้น คำถามดังกล่าวอาจมีผู้คิดว่าวิธีโสเครติสเป็นวิธีที่ง่าย แต่โดยข้อเท็จจริงแล้วเป็นวิธีที่มีความเข้มงวดมาก เนื่องจากโสเครติสเชื่อว่า ความรู้ (Knowledge) และ การตระหนักรู้ (awareness) เป็นส่วนที่อยู่ภายในของเราทุกคน ดังนั้น ผู้ที่จะฝึกฝนการสอนที่ดีจะต้องพยายามเข้าให้ถึงระดับของความรู้และการตระหนักรู้ที่ซ่อนอยู่ภายในตัวผู้เรียนให้มากที่สุด เพื่อช่วยให้ผู้เรียนก้าวไปสู่การคิดในระดับใหม่ๆ ได้ คำถามที่ดีจึงมีประโยชน์ต่อการเรียนรู้ คือ
- ทำให้ได้ความรู้ที่เป็นข้อเท็จจริง (factual information)
- ทำให้เกิดความเชื่อโยงวามคิดรวบยอดต่างๆได้ (connecting concepts)
- ช่วยทำให้ได้ข้อสรุปหรือข้อวินิจฉัย (making inferences) ที่สามารถอ้างอิงได้
- ทำให้ผู้เรียนมีการตระหนักรู้มากขึ้น (increasing awareness)
- ส่งเสริมความคิดริเริ่มและการคิดแบบจินตนาการ (encouraging creative and imaginative thought)
- ช่วยให้เกิดกระบวนการคิดเชิงวิพากษ์ (aiding critical thinking processes)
- ช่วยเหลือผู้เรียนในการสำรวจความรู้ การคิด และการเข้าใจในระดับที่ลึกมากขึ้น (helping learners explore deeper levels of knowing thinking, and understanding)
ประโยชน์ที่ได้รับ