Difference between revisions of "การสร้างองค์ความรู้(Constructivist)"
(Created page with " == ความหมาย == == หลักการจัดการเรียนการสอน == == เอกสารอ้างอิง ==") |
(→ความหมาย) |
||
Line 1: | Line 1: | ||
== ความหมาย == | == ความหมาย == | ||
+ | การสร้างองค์ความรู้ (Constructivist) เน้นความเข้าใจในการสอนของครูที่นำทฤษฏีการสร้างองค์ความรู้มาใช้ในการวางแผนการจัดการเรียนการสอนมากกว่าการเน้นว่าครูจะสอนอย่างไร หรือจะทำอย่างไรให้การสอนนี้เหมาะสมกับเด็กทุกคนในทุกห้องเรียน แต่การสร้างองค์ความรู้ควรคำนึงถึงความรู้ของเด็กแต่ละคนในแต่ละกลุ่ม ในห้องเรียนให้เรียนให้ปฏิสัมพันธ์กับทั้งคนและสิ่งของ(Branscombe,Burcham & others 2014, อ้างถึงใน วศิณีส์(2560)) | ||
+ | DeVries,Zan et al. (2002) ได้กล่าวถึงทฤษฏีการสร้างองค์ความรู้นำมาจากงานวิจัยของเพียเจต์ (Piaget)ที่แสดงให้เห็นว่า เด็กกระตือรือร้นที่จะนำประสบการณ์จากทางร่างกายและสิ่งรอบตัวเด็กในโลก แล้วสร้างองค์ความรู้จากความรู้ สติปัญญาและจริยธรรม ซึ่งแนวทางที่จะช่วยสนับสนุนให้เด็กเกิดองค์ความรู้คือ '''ใช้สิ่งที่สนใจสร้างแรงบัลดาลใจในการการทดลองอย่างกระตือรือร้นที่จะลองผิดลองถูก มีการร่วมมือระหว่างเด็กกับเด็กและเด็กกับผู้ใหญ่''' สรุปคือ ใช้ความสนใจในการลองและความร่วมมือกัน | ||
== หลักการจัดการเรียนการสอน == | == หลักการจัดการเรียนการสอน == | ||
== เอกสารอ้างอิง == | == เอกสารอ้างอิง == |
Revision as of 10:14, 28 April 2018
ความหมาย
การสร้างองค์ความรู้ (Constructivist) เน้นความเข้าใจในการสอนของครูที่นำทฤษฏีการสร้างองค์ความรู้มาใช้ในการวางแผนการจัดการเรียนการสอนมากกว่าการเน้นว่าครูจะสอนอย่างไร หรือจะทำอย่างไรให้การสอนนี้เหมาะสมกับเด็กทุกคนในทุกห้องเรียน แต่การสร้างองค์ความรู้ควรคำนึงถึงความรู้ของเด็กแต่ละคนในแต่ละกลุ่ม ในห้องเรียนให้เรียนให้ปฏิสัมพันธ์กับทั้งคนและสิ่งของ(Branscombe,Burcham & others 2014, อ้างถึงใน วศิณีส์(2560)) DeVries,Zan et al. (2002) ได้กล่าวถึงทฤษฏีการสร้างองค์ความรู้นำมาจากงานวิจัยของเพียเจต์ (Piaget)ที่แสดงให้เห็นว่า เด็กกระตือรือร้นที่จะนำประสบการณ์จากทางร่างกายและสิ่งรอบตัวเด็กในโลก แล้วสร้างองค์ความรู้จากความรู้ สติปัญญาและจริยธรรม ซึ่งแนวทางที่จะช่วยสนับสนุนให้เด็กเกิดองค์ความรู้คือ ใช้สิ่งที่สนใจสร้างแรงบัลดาลใจในการการทดลองอย่างกระตือรือร้นที่จะลองผิดลองถูก มีการร่วมมือระหว่างเด็กกับเด็กและเด็กกับผู้ใหญ่ สรุปคือ ใช้ความสนใจในการลองและความร่วมมือกัน