Difference between revisions of "ทักษะของครูกับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21"
Line 1: | Line 1: | ||
ปัจจุบันโลกแห่งการศึกษาได้ก้าวหน้าและพัฒนาขึ้นเรื่อยๆ รูปแบบการเรียนรู้ก็ต้องปรับปรุงไปเรื่อยๆเพื่อให้เข้ากับยุคสมัย โดยครูควรต้องมีการพัฒนาทักษะ ทั้ง 5ด้านต่อไปนี้เพื่อสามารถทำให้นักเรียนสามารถดำรงตนให้ประสบความสำเร็จได้ในศตวรรษที่ 21 | ปัจจุบันโลกแห่งการศึกษาได้ก้าวหน้าและพัฒนาขึ้นเรื่อยๆ รูปแบบการเรียนรู้ก็ต้องปรับปรุงไปเรื่อยๆเพื่อให้เข้ากับยุคสมัย โดยครูควรต้องมีการพัฒนาทักษะ ทั้ง 5ด้านต่อไปนี้เพื่อสามารถทำให้นักเรียนสามารถดำรงตนให้ประสบความสำเร็จได้ในศตวรรษที่ 21 | ||
− | '''ด้านที่ 1 | + | '''ด้านที่ 1 Facilitating การเป็นผู้อำนวยความสะดวกในการเรียนรู้ คือ''' |
1.1 มีการจัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ | 1.1 มีการจัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ | ||
Line 13: | Line 13: | ||
1.5 สร้างแรงบันดาลใจและส่งเสริมให้เกิดบรรยากาศในการเรียนรู้ที่ดี | 1.5 สร้างแรงบันดาลใจและส่งเสริมให้เกิดบรรยากาศในการเรียนรู้ที่ดี | ||
− | '''ด้านที่ 2 | + | '''ด้านที่ 2 Personalised learning นักพัฒนาเรียนรู้ตามศักยภาพเฉพาะบุคคล คือ''' |
2.1 มีการสนับสนุนการทำงานร่วมกับเพื่อนนักเรียนในทีมเพื่อทำงานให้สำเร็จไปด้วยกัน | 2.1 มีการสนับสนุนการทำงานร่วมกับเพื่อนนักเรียนในทีมเพื่อทำงานให้สำเร็จไปด้วยกัน | ||
Line 54: | Line 54: | ||
5.3 มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการพัฒนาเครื่องมือหรือ วิธีการสอนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลของ การจัดการเรียนรู้
| 5.3 มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการพัฒนาเครื่องมือหรือ วิธีการสอนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลของ การจัดการเรียนรู้
| ||
− | |||
เขียนและเรียบเรียงโดย ดร.เบ็ญจวรรณ ลี้เจริญ | เขียนและเรียบเรียงโดย ดร.เบ็ญจวรรณ ลี้เจริญ |
Latest revision as of 21:06, 31 October 2018
ปัจจุบันโลกแห่งการศึกษาได้ก้าวหน้าและพัฒนาขึ้นเรื่อยๆ รูปแบบการเรียนรู้ก็ต้องปรับปรุงไปเรื่อยๆเพื่อให้เข้ากับยุคสมัย โดยครูควรต้องมีการพัฒนาทักษะ ทั้ง 5ด้านต่อไปนี้เพื่อสามารถทำให้นักเรียนสามารถดำรงตนให้ประสบความสำเร็จได้ในศตวรรษที่ 21
ด้านที่ 1 Facilitating การเป็นผู้อำนวยความสะดวกในการเรียนรู้ คือ
1.1 มีการจัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
1.2 มีการจัดสภาพแวดล้อม สื่อการเรียนการสอน และอุปกรณ์ที่เหมาะสมเพื่อให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาทักษะด้วยตนเองได้
1.3 มีการต้ังคำถามเพื่อกระตุ้นผู้เรียนให้คิด และอยากเรียนรู้
1.4 การจัดกระบวนการเรียนรู้ มุ่งเน้นการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ โดยให้ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
1.5 สร้างแรงบันดาลใจและส่งเสริมให้เกิดบรรยากาศในการเรียนรู้ที่ดี
ด้านที่ 2 Personalised learning นักพัฒนาเรียนรู้ตามศักยภาพเฉพาะบุคคล คือ
2.1 มีการสนับสนุนการทำงานร่วมกับเพื่อนนักเรียนในทีมเพื่อทำงานให้สำเร็จไปด้วยกัน
2.2 มีการส่งเสริมให้ผู้เรียนแบ่งงานและความรับผิดชอบของ สมาชิกแต่ละคนในกลุ่ม
2. 3 มีการสนันสนุนผุ้เรียนให้สร้างผลงานร่วมกันโดยความร่วม มือของทุกคนในกลุ่ม
2.4 สนับสนุนผู้เรียนให้เรียนรู้ ทำงาน และแก้ปัญหาร่วม กัน
2.5 ในการทำงานเป็นทีม ให้โอกาสทุกคนได้ร่วมแสดง ความคิดเห็น และให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับชิ้นงาน
ด้านที่ 3 Personalised learning นักพัฒนาการเรียนรู้ตามศักยภาพเฉพาะบุคคล คือ
3.1 ในการสอนเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ผู้เรียนเลือกที่จะ เรียนรู้ได้ตามศักยภาพและความสนใจของตนเอง
3.2 มีการสนับสนุนให้ผู้เรียนได้สำรวจ ค้นหา เพื่อทำความ เข้าใจสิ่งใหม่ๆ และบูรณาการความรู้ที่มีอยู่เพื่อแก้ไข ปัญหาที่สอดคล้องกับสภาพความเป็นจริง
3.3 มีการสังเกตผู้เรียนว่ามีความสนใจและความถนัดใน ด้านใด และเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เลือกทำในสิ่งที่ผุ้ เรียนสนใจ
3.4 การจัดเตรียมเนื้อหาและกิจกรรมที่เหมาะกับความ สามารถทางสติปัญญาของผู้เรียน เพื่อส่งเสริมให้เกิด การพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพ
3.5 เป็นผู้ให้คำปรึกษาเพื่อต่อยอดองค์ความรู้ให้กับผู้ เรียน
3.6 การสร้างแรงบันดาลใจ กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความ สงสัยใคร่รู้ และส่งเสริมให้หาคำตอบด้วยตนเอง
ด้านที่ 4 Authoring and publishing ผู้สร้างและเผยแพร่เนื้อหา คือ
4.1 ครูมีทักษะในการนำเสนอข้อมูลเพื่อให้ง่ายต่อการ ทำความเข้าใจ
4.2 ครูมีความรู้ในการเลือกใช้ภาษาที่เหมาะสมกับผู้เรียน
4.3 ครูมีทักษะในการเผยแพร่ข้อมูลในรูปแบบต่างๆ และมีช่องทางที่หลากหลาย
ด้านที่ 5 Innovation Skill นักนวตกรม
5.1 ครูมีการนำเสนอแนวคิดใหม่หรือนวตกรรมที่ต่อยอด ความรู้เดิมได้
5.2 ครูรู้จักค้นหาแนวคิดหรือมุมมองใหม่ๆ โดยใช้เทคนิคที่ หลากหลายเพื่อการจัดการเรียนรู้
5.3 มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการพัฒนาเครื่องมือหรือ วิธีการสอนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลของ การจัดการเรียนรู้
เขียนและเรียบเรียงโดย ดร.เบ็ญจวรรณ ลี้เจริญ