Difference between revisions of "Facilitator ผู้อำนวยการเรียนรู้"
From Knowledge sharing space
(Created page with "== บทบาทครูกับการช่วยอำนวยการ Facilitator == ครูควรพูดแต่น้อยเพื่อให้น...") |
(→บทบาทครูกับการช่วยอำนวยการ Facilitator) |
||
Line 1: | Line 1: | ||
− | == | + | == บทบาทครูกับผู้อำนวยการเรียนรู้ (Facilitator) == |
ครูควรพูดแต่น้อยเพื่อให้นักเรียนได้คิดมากขึ้น อย่าพยายามบรรยายในห้องมากจนเกินไปไม่ควรเกิน 20 นาที ควรแบ่งออกเป็นช่วงๆ อาจเป็นช่วงละ 10นาที เพื่อปลีกเวลาให้เด็กๆได้พูดคุยหารือเกี่ยวกับเรื่องประเด็นที่ครูอาจนำเสนอ โดยอาจทำเป็นคู่ๆ หากครูเป็นผู้บรรยายเสียส่วนใหญ่ก็จะทำให้บรรยากาศของการคิดลดน้อยลงควรมอบให้เด็กทำอะไรมากขึ้น ก็จะทำให้เขาคิดมากขึ้น (บรรจง, 2556) | ครูควรพูดแต่น้อยเพื่อให้นักเรียนได้คิดมากขึ้น อย่าพยายามบรรยายในห้องมากจนเกินไปไม่ควรเกิน 20 นาที ควรแบ่งออกเป็นช่วงๆ อาจเป็นช่วงละ 10นาที เพื่อปลีกเวลาให้เด็กๆได้พูดคุยหารือเกี่ยวกับเรื่องประเด็นที่ครูอาจนำเสนอ โดยอาจทำเป็นคู่ๆ หากครูเป็นผู้บรรยายเสียส่วนใหญ่ก็จะทำให้บรรยากาศของการคิดลดน้อยลงควรมอบให้เด็กทำอะไรมากขึ้น ก็จะทำให้เขาคิดมากขึ้น (บรรจง, 2556) | ||
− | |||
== เอกสารอ้างอิง == | == เอกสารอ้างอิง == | ||
บรรจง อมรชีวิน. (2556). เปลี่ยนห้องเรียนให้เป็นห้องคิด(Thinking Classroom). กรุงเทพฯ: หจก.ภาพพิมพ์. | บรรจง อมรชีวิน. (2556). เปลี่ยนห้องเรียนให้เป็นห้องคิด(Thinking Classroom). กรุงเทพฯ: หจก.ภาพพิมพ์. |
Revision as of 16:07, 24 April 2018
บทบาทครูกับผู้อำนวยการเรียนรู้ (Facilitator)
ครูควรพูดแต่น้อยเพื่อให้นักเรียนได้คิดมากขึ้น อย่าพยายามบรรยายในห้องมากจนเกินไปไม่ควรเกิน 20 นาที ควรแบ่งออกเป็นช่วงๆ อาจเป็นช่วงละ 10นาที เพื่อปลีกเวลาให้เด็กๆได้พูดคุยหารือเกี่ยวกับเรื่องประเด็นที่ครูอาจนำเสนอ โดยอาจทำเป็นคู่ๆ หากครูเป็นผู้บรรยายเสียส่วนใหญ่ก็จะทำให้บรรยากาศของการคิดลดน้อยลงควรมอบให้เด็กทำอะไรมากขึ้น ก็จะทำให้เขาคิดมากขึ้น (บรรจง, 2556)
เอกสารอ้างอิง
บรรจง อมรชีวิน. (2556). เปลี่ยนห้องเรียนให้เป็นห้องคิด(Thinking Classroom). กรุงเทพฯ: หจก.ภาพพิมพ์.