Difference between revisions of "ทักษะในศตวรรษที่21"

From Knowledge sharing space
Jump to: navigation, search
Line 1: Line 1:
 
ศตวรรษที่ 21 สถานการณ์โลกมีความแตกต่างจากศตวรรษที่ 20 และ 19 ระบบการศึกษา ต้องมีการพัฒนาเพื่อให้สอดคล้องกับภาวะความเป็นจริง (www.moe.go.th, 2557)
 
ศตวรรษที่ 21 สถานการณ์โลกมีความแตกต่างจากศตวรรษที่ 20 และ 19 ระบบการศึกษา ต้องมีการพัฒนาเพื่อให้สอดคล้องกับภาวะความเป็นจริง (www.moe.go.th, 2557)
 +
 
โดยภาวะความเป็นจริงในยุคการทำงานนั้น มีความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสูง โจทย์สำคัญของการศึกษาปัจจุบัน จึงอยู่ที่ว่า “จะสร้างการเรียนรู้อย่างไรให้สอดรับกับทักษะที่ตลาดโลกต้องการ” ซึ่ง ทักษะแรงงานที่ตลาดโลกต้องการ นายแอนเดรียส ชไลเชอร์ ผู้อำนวยการฝ่ายการศึกษาและทักษะขององค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา(OECD) ระบุว่า ทักษะชีวิตในโลกแห่งศตวรรษที่ 21 ได้แก่ ความคิดสร้างสรรค์ การรู้จักคิดวิเคราะห์ การแก้ไขปัญหา การสื่อสาร และการประสานความร่วมมือ รวมถึงลักษณะนิสัยหรือบุคลิกภาพ ได้แก่ ความไม่ย่อท้อ ความสามารถในการปรับตัว ความใคร่รู้ เป็นต้น
 
โดยภาวะความเป็นจริงในยุคการทำงานนั้น มีความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสูง โจทย์สำคัญของการศึกษาปัจจุบัน จึงอยู่ที่ว่า “จะสร้างการเรียนรู้อย่างไรให้สอดรับกับทักษะที่ตลาดโลกต้องการ” ซึ่ง ทักษะแรงงานที่ตลาดโลกต้องการ นายแอนเดรียส ชไลเชอร์ ผู้อำนวยการฝ่ายการศึกษาและทักษะขององค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา(OECD) ระบุว่า ทักษะชีวิตในโลกแห่งศตวรรษที่ 21 ได้แก่ ความคิดสร้างสรรค์ การรู้จักคิดวิเคราะห์ การแก้ไขปัญหา การสื่อสาร และการประสานความร่วมมือ รวมถึงลักษณะนิสัยหรือบุคลิกภาพ ได้แก่ ความไม่ย่อท้อ ความสามารถในการปรับตัว ความใคร่รู้ เป็นต้น
 +
 
บทความจากกระทรวงศึกษาธิการ ได้ระบุว่าในประเทศสหรัฐอเมริกาแนวคิดเรื่อง "ทักษะแห่งอนาคตใหม่: การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21" ได้ถูกพัฒนาขึ้น โดยภาคส่วนที่เกิดจากวงการนอกการศึกษา ประกอบด้วย บริษัทเอกชนชั้นนำขนาดใหญ่ เช่น บริษัทแอปเปิ้ล บริษัทไมโครซอฟ บริษัทวอล์ดิสนีย์ องค์กรวิชาชีพระดับประเทศ และสำนักงานด้านการศึกษาของรัฐ รวมตัวและก่อตั้งเป็นเครือข่ายองค์กรความร่วมมือเพื่อทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (Partnership for 21st Century Skills) หรือเรียกย่อๆว่า เครือข่าย P21
 
บทความจากกระทรวงศึกษาธิการ ได้ระบุว่าในประเทศสหรัฐอเมริกาแนวคิดเรื่อง "ทักษะแห่งอนาคตใหม่: การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21" ได้ถูกพัฒนาขึ้น โดยภาคส่วนที่เกิดจากวงการนอกการศึกษา ประกอบด้วย บริษัทเอกชนชั้นนำขนาดใหญ่ เช่น บริษัทแอปเปิ้ล บริษัทไมโครซอฟ บริษัทวอล์ดิสนีย์ องค์กรวิชาชีพระดับประเทศ และสำนักงานด้านการศึกษาของรัฐ รวมตัวและก่อตั้งเป็นเครือข่ายองค์กรความร่วมมือเพื่อทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (Partnership for 21st Century Skills) หรือเรียกย่อๆว่า เครือข่าย P21
 +
 
หน่วยงานเหล่านี้มีความกังวลและเห็นความจำเป็นที่เยาวชนจะต้องมีทักษะสำหรับการออกไปดำรงชีวิตในโลกแห่งศตวรรษที่ 21      ที่เปลี่ยนไปจากศตวรรษที่ 20 และ 19 จึงได้พัฒนาวิสัยทัศน์และกรอบความคิดเพื่อการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21ขึ้น สามารถสรุปทักษะสำคัญอย่างย่อๆ ที่เด็กและเยาวชนควรมีได้ว่า ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม หรือ 3R  และ 4C ซึ่งมีองค์ประกอบ ดังนี้
 
หน่วยงานเหล่านี้มีความกังวลและเห็นความจำเป็นที่เยาวชนจะต้องมีทักษะสำหรับการออกไปดำรงชีวิตในโลกแห่งศตวรรษที่ 21      ที่เปลี่ยนไปจากศตวรรษที่ 20 และ 19 จึงได้พัฒนาวิสัยทัศน์และกรอบความคิดเพื่อการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21ขึ้น สามารถสรุปทักษะสำคัญอย่างย่อๆ ที่เด็กและเยาวชนควรมีได้ว่า ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม หรือ 3R  และ 4C ซึ่งมีองค์ประกอบ ดังนี้
 
:*3 R ได้แก่ Reading (การอ่าน), การเขียน(Writing) และ คณิตศาสตร์ (Arithmetic) และ
 
:*3 R ได้แก่ Reading (การอ่าน), การเขียน(Writing) และ คณิตศาสตร์ (Arithmetic) และ
:*4 C (Critical Thinking - การคิดวิเคราะห์, Communication- การสื่อสาร Collaboration-การร่วมมือ และ Creativity-ความคิดสร้างสรรค์ รวมถึงทักษะชีวิตและอาชีพ และทักษะด้านสารสนเทศสื่อและเทคโนโลยี และการบริหารจัดการด้านการศึกษาแบบใหม่ 
+
:*4 C (Critical Thinking - การคิดวิเคราะห์, Communication- การสื่อสาร Collaboration-การร่วมมือ และ Creativity-ความคิดสร้างสรรค์ รวมถึงทักษะชีวิตและอาชีพ และทักษะด้านสารสนเทศสื่อและเทคโนโลยี และการบริหารจัดการด้านการศึกษาแบบใหม่
ทักษะทั้งหมดนี้ ไม่ใช่แค่การเรียนในรั้วสถาบันการศึกษา แต่ต้องสร้างให้เป็นวัฒนธรรม “เรียนรู้ตลอดชีวิต” ที่สังคมไทยทุกภาคส่วนควรให้ความสำคัญ
+
 
 
+
ทักษะทั้งหมดนี้ ไม่ใช่แค่การเรียนในรั้วสถาบันการศึกษา แต่ต้องสร้างให้เป็นวัฒนธรรม “เรียนรู้ตลอดชีวิต” ที่สังคมไทยทุกภาคส่วนควรปรับตัว
อ่านเพิ่มเติมได้ที่ : http://www.kroobannok.com/79741
+
  
 
ดาวน์โหลดเอกสารที่เกี่ยวเพิ่มเติมได้ที่  
 
ดาวน์โหลดเอกสารที่เกี่ยวเพิ่มเติมได้ที่  
 
[https://www.scribd.com/doc/97624333/การศึกษาในศตวรรษที-21]
 
[https://www.scribd.com/doc/97624333/การศึกษาในศตวรรษที-21]
 
[http://www.qlf.or.th/Home/Contents/417]
 
[http://www.qlf.or.th/Home/Contents/417]
 +
[http://www.kroobannok.com/79741]
  
 
แหล่งที่มา
 
แหล่งที่มา
 
กระทรวงศึกษาธิการ. การเรียนรู้ในศตวรรษที่21. สืบค้นจากhttp://www.moe.go.th/moe/th/news/detail.php?NewsID=38880&Key=news_research
 
กระทรวงศึกษาธิการ. การเรียนรู้ในศตวรรษที่21. สืบค้นจากhttp://www.moe.go.th/moe/th/news/detail.php?NewsID=38880&Key=news_research

Revision as of 15:43, 19 April 2018

ศตวรรษที่ 21 สถานการณ์โลกมีความแตกต่างจากศตวรรษที่ 20 และ 19 ระบบการศึกษา ต้องมีการพัฒนาเพื่อให้สอดคล้องกับภาวะความเป็นจริง (www.moe.go.th, 2557)

โดยภาวะความเป็นจริงในยุคการทำงานนั้น มีความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสูง โจทย์สำคัญของการศึกษาปัจจุบัน จึงอยู่ที่ว่า “จะสร้างการเรียนรู้อย่างไรให้สอดรับกับทักษะที่ตลาดโลกต้องการ” ซึ่ง ทักษะแรงงานที่ตลาดโลกต้องการ นายแอนเดรียส ชไลเชอร์ ผู้อำนวยการฝ่ายการศึกษาและทักษะขององค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา(OECD) ระบุว่า ทักษะชีวิตในโลกแห่งศตวรรษที่ 21 ได้แก่ ความคิดสร้างสรรค์ การรู้จักคิดวิเคราะห์ การแก้ไขปัญหา การสื่อสาร และการประสานความร่วมมือ รวมถึงลักษณะนิสัยหรือบุคลิกภาพ ได้แก่ ความไม่ย่อท้อ ความสามารถในการปรับตัว ความใคร่รู้ เป็นต้น

บทความจากกระทรวงศึกษาธิการ ได้ระบุว่าในประเทศสหรัฐอเมริกาแนวคิดเรื่อง "ทักษะแห่งอนาคตใหม่: การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21" ได้ถูกพัฒนาขึ้น โดยภาคส่วนที่เกิดจากวงการนอกการศึกษา ประกอบด้วย บริษัทเอกชนชั้นนำขนาดใหญ่ เช่น บริษัทแอปเปิ้ล บริษัทไมโครซอฟ บริษัทวอล์ดิสนีย์ องค์กรวิชาชีพระดับประเทศ และสำนักงานด้านการศึกษาของรัฐ รวมตัวและก่อตั้งเป็นเครือข่ายองค์กรความร่วมมือเพื่อทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (Partnership for 21st Century Skills) หรือเรียกย่อๆว่า เครือข่าย P21

หน่วยงานเหล่านี้มีความกังวลและเห็นความจำเป็นที่เยาวชนจะต้องมีทักษะสำหรับการออกไปดำรงชีวิตในโลกแห่งศตวรรษที่ 21      ที่เปลี่ยนไปจากศตวรรษที่ 20 และ 19 จึงได้พัฒนาวิสัยทัศน์และกรอบความคิดเพื่อการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21ขึ้น สามารถสรุปทักษะสำคัญอย่างย่อๆ ที่เด็กและเยาวชนควรมีได้ว่า ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม หรือ 3R  และ 4C ซึ่งมีองค์ประกอบ ดังนี้

  • 3 R ได้แก่ Reading (การอ่าน), การเขียน(Writing) และ คณิตศาสตร์ (Arithmetic) และ
  • 4 C (Critical Thinking - การคิดวิเคราะห์, Communication- การสื่อสาร Collaboration-การร่วมมือ และ Creativity-ความคิดสร้างสรรค์ รวมถึงทักษะชีวิตและอาชีพ และทักษะด้านสารสนเทศสื่อและเทคโนโลยี และการบริหารจัดการด้านการศึกษาแบบใหม่

  ทักษะทั้งหมดนี้ ไม่ใช่แค่การเรียนในรั้วสถาบันการศึกษา แต่ต้องสร้างให้เป็นวัฒนธรรม “เรียนรู้ตลอดชีวิต” ที่สังคมไทยทุกภาคส่วนควรปรับตัว

ดาวน์โหลดเอกสารที่เกี่ยวเพิ่มเติมได้ที่ [1] [2] [3]

แหล่งที่มา กระทรวงศึกษาธิการ. การเรียนรู้ในศตวรรษที่21. สืบค้นจากhttp://www.moe.go.th/moe/th/news/detail.php?NewsID=38880&Key=news_research