Difference between revisions of "ความแตกต่างระหว่างการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ และการวิจัยเชิงวิชาการ"
(2 intermediate revisions by the same user not shown) | |||
Line 1: | Line 1: | ||
− | การวิจัย คือ กระบวนการในการแสวงหาความรู้ที่เชื่อถือได้ ด้วยวิธีการที่เชื่อถือได้ โดยอาศัยระเบียบวิธีการทางวิทยาศาสตร์ การวิจัยมีหลายรูปแบบแตกต่างกันไปตามคำถามวิจัย วัตถุประสงค์และผลลัพธ์ที่ต้องการ | + | ตามที่ทราบกันดีว่า การวิจัย คือ กระบวนการในการแสวงหาความรู้ที่เชื่อถือได้ ด้วยวิธีการที่เชื่อถือได้ โดยอาศัยระเบียบวิธีการทางวิทยาศาสตร์ การวิจัยมีหลายรูปแบบแตกต่างกันไปตามคำถามวิจัย วัตถุประสงค์และผลลัพธ์ที่ต้องการ ในหัวข้อนี้ผู้เขียนพูดถึงการวิจัย 2 รูปแบบ คือการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ และการวิจัยเชิงวิชาการ ว่ามีประเด็นที่มีความแตกต่างกันอย่างไรบ้าง รายละเอียดแบ่งสรุปออกเป็นหัวข้อดังนี้ |
− | + | ||
− | + | ||
− | 1.จุดเริ่มต้นของการวิจัย | + | '''1.จุดเริ่มต้นของการวิจัย''' |
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ : เริ่มต้นจากสภาพปัญหาการเรียนรู้ของผู้เรียนหรือปัญหาการจัดการเรียนการสอนของครู และครูมีความคิดความปรารถนาดีที่จะแก้ปัญหาการเรียนรู้หรือปรับปรุงพัฒนาการจัดการเรียนการสอนของตนเอง | การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ : เริ่มต้นจากสภาพปัญหาการเรียนรู้ของผู้เรียนหรือปัญหาการจัดการเรียนการสอนของครู และครูมีความคิดความปรารถนาดีที่จะแก้ปัญหาการเรียนรู้หรือปรับปรุงพัฒนาการจัดการเรียนการสอนของตนเอง | ||
การวิจัยเชิงพัฒนาการ : จุดเริ่มต้นของการวิจัยอาจมาจากนโยบายความต้องการของหน่วยงาน ความสนใจของนักวิจัยที่ต้องการศึกษา ค้นหาคำตอบในประเด็นที่ต้องนำไปใช้ประโยชน์ต่อการพัฒนา | การวิจัยเชิงพัฒนาการ : จุดเริ่มต้นของการวิจัยอาจมาจากนโยบายความต้องการของหน่วยงาน ความสนใจของนักวิจัยที่ต้องการศึกษา ค้นหาคำตอบในประเด็นที่ต้องนำไปใช้ประโยชน์ต่อการพัฒนา | ||
− | 2. ปัญหาการวิจัย | + | '''2. ปัญหาการวิจัย''' |
การวิจัยเพื่อการเรียนรู้ : ปัญหาเกี่ยวกับการเรียนรู้ของผู้เรียนและปัญหาการเรียนการสอนในชั้นเรียน เป็นประเด็นปัญหาที่เล็กแต่มีความสำคัญและมีความหมายต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน การเรียนการสอนตามหลักสูตรและมาตรฐานการเรียนรู้ | การวิจัยเพื่อการเรียนรู้ : ปัญหาเกี่ยวกับการเรียนรู้ของผู้เรียนและปัญหาการเรียนการสอนในชั้นเรียน เป็นประเด็นปัญหาที่เล็กแต่มีความสำคัญและมีความหมายต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน การเรียนการสอนตามหลักสูตรและมาตรฐานการเรียนรู้ | ||
Line 15: | Line 13: | ||
การวิจัยเชิงวิชาการ : เป็นปัญหาในวงกว้างทางการศึกษาที่อาจเป็นปัญหาเชิงนโยบายการศึกษาหลักสูตร การบริหารการศึกษา ฯลฯ | การวิจัยเชิงวิชาการ : เป็นปัญหาในวงกว้างทางการศึกษาที่อาจเป็นปัญหาเชิงนโยบายการศึกษาหลักสูตร การบริหารการศึกษา ฯลฯ | ||
− | 3. วัตถุประสงค์/เป้าหมายของการวิจัย | + | '''3. วัตถุประสงค์/เป้าหมายของการวิจัย''' |
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ : เพื่อแก้ปัญหา/พัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนและปรับปรุง/พัฒนาการจัดการเรียนการสอนของครู | การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ : เพื่อแก้ปัญหา/พัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนและปรับปรุง/พัฒนาการจัดการเรียนการสอนของครู | ||
Line 21: | Line 19: | ||
การวิจัยเชิงวิชาการ : เพื่อสร้างองค์ความรู้ ข้อความรู้ทั่วไปซึ่งสามารถสรุปอ้างอิงในประชากรระดับกว้างได้ | การวิจัยเชิงวิชาการ : เพื่อสร้างองค์ความรู้ ข้อความรู้ทั่วไปซึ่งสามารถสรุปอ้างอิงในประชากรระดับกว้างได้ | ||
− | 4. ผู้วิจัย | + | '''4. ผู้วิจัย''' |
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ : ดำเนินการโดยครูผู้สอนที่รับผิดชอบในแต่ละรายวิชา | การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ : ดำเนินการโดยครูผู้สอนที่รับผิดชอบในแต่ละรายวิชา | ||
+ | |||
การวิจัยเชิงวิชาการ :ดำเนินการโดยนักวิชาการหรือนักการศึกษาที่ไม่ได้ปฏิบัติงานการสอน | การวิจัยเชิงวิชาการ :ดำเนินการโดยนักวิชาการหรือนักการศึกษาที่ไม่ได้ปฏิบัติงานการสอน | ||
− | 5. ประชากรหรือกลุ่มเป้าหมาย | + | '''5. ประชากรหรือกลุ่มเป้าหมาย''' |
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ : มุ่งศึกษาผู้เรียนที่เรียนในแต่ละรายวิชาที่มีปัญหาการเรียนรู้ ปัญหาการจัดการเรียนการสอนซึ่งอาจ เป็นรายบุคคล รายกลุ่ม รายห้องเรียน หรือทั้งระดับชั้นเรียนที่ครูนักวิจัยมีส่วนรับผิดชอบในการจัดการเรียนการสอน | การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ : มุ่งศึกษาผู้เรียนที่เรียนในแต่ละรายวิชาที่มีปัญหาการเรียนรู้ ปัญหาการจัดการเรียนการสอนซึ่งอาจ เป็นรายบุคคล รายกลุ่ม รายห้องเรียน หรือทั้งระดับชั้นเรียนที่ครูนักวิจัยมีส่วนรับผิดชอบในการจัดการเรียนการสอน | ||
Line 32: | Line 31: | ||
การวิจัยเชิงวิชาการ : กลุ่มนักเรียน หรือกลุ่มครูบุคลากรทางการศึกษา หรือกลุ่มเป้าหมายอื่นที่เป็นตัวแทนประชากรที่ผู้วิจัยเลือกมาศึกษา | การวิจัยเชิงวิชาการ : กลุ่มนักเรียน หรือกลุ่มครูบุคลากรทางการศึกษา หรือกลุ่มเป้าหมายอื่นที่เป็นตัวแทนประชากรที่ผู้วิจัยเลือกมาศึกษา | ||
− | 6. ช่วงเวลาในการทำวิจัย | + | '''6. ช่วงเวลาในการทำวิจัย''' |
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ : โดยครูนักวิจัยทำวิจัยควบคู่กับกับการเรียนการสอนหรือให้เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนการสอน เพื่อให้ทันต่อการแก้ไขปัญหาหรือพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนที่เกิดขึ้นในชั้นเรียนส่วนใหญ่ใช้เวลาในการทำวิจัยไม่มากนัก | การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ : โดยครูนักวิจัยทำวิจัยควบคู่กับกับการเรียนการสอนหรือให้เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนการสอน เพื่อให้ทันต่อการแก้ไขปัญหาหรือพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนที่เกิดขึ้นในชั้นเรียนส่วนใหญ่ใช้เวลาในการทำวิจัยไม่มากนัก | ||
Line 38: | Line 37: | ||
การวิจัยเชิงวิชาการ : โดยนักวิจัยภายนอกทำวิจัยเมื่อมีปัญหาทางการศึกษาหรือมีความต้องการที่จะศึกษาหาคำตอบใน ประเด็นที่สนใจ ซึ่งอาจเกี่ยวข้องกับการเรียนการสอนหรือประเด็นปัญหาอื่น อาจใช้เวลาในการทำวิจัยนานกว่าการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ | การวิจัยเชิงวิชาการ : โดยนักวิจัยภายนอกทำวิจัยเมื่อมีปัญหาทางการศึกษาหรือมีความต้องการที่จะศึกษาหาคำตอบใน ประเด็นที่สนใจ ซึ่งอาจเกี่ยวข้องกับการเรียนการสอนหรือประเด็นปัญหาอื่น อาจใช้เวลาในการทำวิจัยนานกว่าการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ | ||
− | 7. กระบวนการวิจัย | + | '''7. กระบวนการวิจัย''' |
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ : ใช้กระบวนการวิจัยปฏิบัติการวงจร PAOR ที่เป็นวงจรเดียวกับการปฏิบัติงานตามปกติโดย เริ่มจากวงจรเล็กๆ ของการวางแผน (Plan) การปฏิบัติ (Act) การสังเกต(Observe) และการสะท้อนผล(Reflect) ที่นำไปสู่การพัฒนาการเรียนการสอนเป็นวงจรอย่างต่อเนื่อง | การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ : ใช้กระบวนการวิจัยปฏิบัติการวงจร PAOR ที่เป็นวงจรเดียวกับการปฏิบัติงานตามปกติโดย เริ่มจากวงจรเล็กๆ ของการวางแผน (Plan) การปฏิบัติ (Act) การสังเกต(Observe) และการสะท้อนผล(Reflect) ที่นำไปสู่การพัฒนาการเรียนการสอนเป็นวงจรอย่างต่อเนื่อง | ||
Line 44: | Line 43: | ||
การวิจัยเชิงวิชาการ : ใช้กระบวนการวิจัยโดยกำหนดปัญหาศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง ออกแบบการวิจัย (โดยกำหนด ประชากร กลุ่มตัวอย่าง สร้างเครื่องมือ เก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล) และนำเสนอผลการวิจัย | การวิจัยเชิงวิชาการ : ใช้กระบวนการวิจัยโดยกำหนดปัญหาศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง ออกแบบการวิจัย (โดยกำหนด ประชากร กลุ่มตัวอย่าง สร้างเครื่องมือ เก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล) และนำเสนอผลการวิจัย | ||
− | 8. วิธีดำเนินการวิจัย | + | '''8. วิธีดำเนินการวิจัย''' |
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ : ไม่เน้นการกำหนดกรอบแนวคิดทฤษฎีไม่เน้นแบบแผนการวิจัยและการออกแบบการวิจัยที่เคร่งครัด | การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ : ไม่เน้นการกำหนดกรอบแนวคิดทฤษฎีไม่เน้นแบบแผนการวิจัยและการออกแบบการวิจัยที่เคร่งครัด | ||
Line 50: | Line 49: | ||
การวิจัยเชิงวิชาการ. : มีการกำหนดกรอบแนวคิดทฤษฎี และพัฒนาทฤษฎี ยึดแบบแผนการวิจัยและการออกแบบการวิจัยที่รัดกุม | การวิจัยเชิงวิชาการ. : มีการกำหนดกรอบแนวคิดทฤษฎี และพัฒนาทฤษฎี ยึดแบบแผนการวิจัยและการออกแบบการวิจัยที่รัดกุม | ||
− | 9. การกำหนดวิธีการแก้ปัญหาหรือพัฒนาการเรียนการสอน | + | '''9. การกำหนดวิธีการแก้ปัญหาหรือพัฒนาการเรียนการสอน''' |
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ : โดยอาศัยประสบการณ์ของครูนักวิจัยการเรียนรู้จากกรณีตัวอย่าง ของเพื่อนครู หรือการศึกษาค้นหาวิธีการ / นวัตกรรมจากแหล่งความรู้ต่างๆแล้วนำมาทดลองใช้และตรวจสอบผล | การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ : โดยอาศัยประสบการณ์ของครูนักวิจัยการเรียนรู้จากกรณีตัวอย่าง ของเพื่อนครู หรือการศึกษาค้นหาวิธีการ / นวัตกรรมจากแหล่งความรู้ต่างๆแล้วนำมาทดลองใช้และตรวจสอบผล | ||
Line 56: | Line 55: | ||
ศึกษาทฤษฎีหรือผลการวิจัยที่เกี่ยวข้อง | ศึกษาทฤษฎีหรือผลการวิจัยที่เกี่ยวข้อง | ||
− | 10. การเก็บรวบรวมข้อมูล | + | '''10. การเก็บรวบรวมข้อมูล''' |
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ : ครูเป็นผู้เก็บข้อมูล โดยใช้วิธีการสังเกตหลักฐานการแสดงพฤติกรรมของผู้เรียน การทดสอบ ประเมินความรู้ ทักษะผู้เรียน | การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ : ครูเป็นผู้เก็บข้อมูล โดยใช้วิธีการสังเกตหลักฐานการแสดงพฤติกรรมของผู้เรียน การทดสอบ ประเมินความรู้ ทักษะผู้เรียน | ||
Line 62: | Line 61: | ||
การวิจัยเชิงวิชาการ : ผู้วิจัยเป็นผู้เก็บข้อมูลโดยอาจใช้วิธีการที่หลากหลาย ทั้งแบบสอบถาม แบบทดสอบ การสัมภาษณ์ การสนทนากลุ่ม | การวิจัยเชิงวิชาการ : ผู้วิจัยเป็นผู้เก็บข้อมูลโดยอาจใช้วิธีการที่หลากหลาย ทั้งแบบสอบถาม แบบทดสอบ การสัมภาษณ์ การสนทนากลุ่ม | ||
− | 11. การวิเคราะห์ข้อมูล | + | '''11. การวิเคราะห์ข้อมูล''' |
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ : ใช้การวิเคราะห์เนื้อหาและการวิเคราะห์ด้วยสิติขั้นพื้นฐาน ไม่เน้นการวิเคราะห์ด้วยสถิติสูง | การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ : ใช้การวิเคราะห์เนื้อหาและการวิเคราะห์ด้วยสิติขั้นพื้นฐาน ไม่เน้นการวิเคราะห์ด้วยสถิติสูง | ||
Line 68: | Line 67: | ||
การวิจัยเชิงวิชาการ : ส่วนใหญ่ใช้วิธีการวิเคราะห์ทางสถิติทั้งสถิติขั้นพื้นฐานและสถิติขั้นสูงเน้นการสรุปอ้างอิง | การวิจัยเชิงวิชาการ : ส่วนใหญ่ใช้วิธีการวิเคราะห์ทางสถิติทั้งสถิติขั้นพื้นฐานและสถิติขั้นสูงเน้นการสรุปอ้างอิง | ||
− | 12. การเขียนรายงานการวิจัย | + | '''12. การเขียนรายงานการวิจัย''' |
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ : ครูนำเสนอผลการวิจัยให้เป็นหลักฐานการปฏิบัติงานในวิชาชีพครู โดยไม่เน้นรูปแบบรายงาน แต่มุ่งนำผลการวิจัยไปใช้เพื่อปรับปรุงพัฒนาการเรียนการสอน | การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ : ครูนำเสนอผลการวิจัยให้เป็นหลักฐานการปฏิบัติงานในวิชาชีพครู โดยไม่เน้นรูปแบบรายงาน แต่มุ่งนำผลการวิจัยไปใช้เพื่อปรับปรุงพัฒนาการเรียนการสอน | ||
Line 74: | Line 73: | ||
การวิจัยเชิงวิชาการ : มีรูปแบบการเขียนรายงานการวิจัยที่เป็นทางการให้มีคุณภาพมาตรฐานทางวิชาการ | การวิจัยเชิงวิชาการ : มีรูปแบบการเขียนรายงานการวิจัยที่เป็นทางการให้มีคุณภาพมาตรฐานทางวิชาการ | ||
− | 13. การนำผลการวิจัยไปใช้ | + | '''13. การนำผลการวิจัยไปใช้''' |
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ : นำผลไปใช้แก้ปัญหา พัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน และปรับปรุง พัฒนา การเรียนการสอนของครูในแต่ละรายวิชา ไม่มุ่งนำผลไปใช้ในวงกว้างหรือไม่เน้นการสรุปอ้างอิง และตีพิมพ์เผยแพร่เป็นบทความวิชาการ | การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ : นำผลไปใช้แก้ปัญหา พัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน และปรับปรุง พัฒนา การเรียนการสอนของครูในแต่ละรายวิชา ไม่มุ่งนำผลไปใช้ในวงกว้างหรือไม่เน้นการสรุปอ้างอิง และตีพิมพ์เผยแพร่เป็นบทความวิชาการ | ||
Line 82: | Line 81: | ||
เรียงเรียงเนื้อหาโดย ดร.เบ็ญจวรรณ ลี้เจริญ | เรียงเรียงเนื้อหาโดย ดร.เบ็ญจวรรณ ลี้เจริญ | ||
+ | |||
+ | เอกสารอ้างอิง | ||
+ | |||
+ | ชูศรี วงศ์รัตนะ. (2560). เทคนิคการสร้างเครื่องมือวิจัย: แนวทางการนำไปใช้อย่างมืออาชีพ. กรุงเทพฯ: อมรการพิมพ์. | ||
+ | |||
+ | พิชิต ฤทธิ์จรูญ. (2559). เทคนิคการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มาวิทยาลัย. |
Latest revision as of 10:28, 19 October 2018
ตามที่ทราบกันดีว่า การวิจัย คือ กระบวนการในการแสวงหาความรู้ที่เชื่อถือได้ ด้วยวิธีการที่เชื่อถือได้ โดยอาศัยระเบียบวิธีการทางวิทยาศาสตร์ การวิจัยมีหลายรูปแบบแตกต่างกันไปตามคำถามวิจัย วัตถุประสงค์และผลลัพธ์ที่ต้องการ ในหัวข้อนี้ผู้เขียนพูดถึงการวิจัย 2 รูปแบบ คือการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ และการวิจัยเชิงวิชาการ ว่ามีประเด็นที่มีความแตกต่างกันอย่างไรบ้าง รายละเอียดแบ่งสรุปออกเป็นหัวข้อดังนี้
1.จุดเริ่มต้นของการวิจัย การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ : เริ่มต้นจากสภาพปัญหาการเรียนรู้ของผู้เรียนหรือปัญหาการจัดการเรียนการสอนของครู และครูมีความคิดความปรารถนาดีที่จะแก้ปัญหาการเรียนรู้หรือปรับปรุงพัฒนาการจัดการเรียนการสอนของตนเอง
การวิจัยเชิงพัฒนาการ : จุดเริ่มต้นของการวิจัยอาจมาจากนโยบายความต้องการของหน่วยงาน ความสนใจของนักวิจัยที่ต้องการศึกษา ค้นหาคำตอบในประเด็นที่ต้องนำไปใช้ประโยชน์ต่อการพัฒนา
2. ปัญหาการวิจัย
การวิจัยเพื่อการเรียนรู้ : ปัญหาเกี่ยวกับการเรียนรู้ของผู้เรียนและปัญหาการเรียนการสอนในชั้นเรียน เป็นประเด็นปัญหาที่เล็กแต่มีความสำคัญและมีความหมายต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน การเรียนการสอนตามหลักสูตรและมาตรฐานการเรียนรู้
การวิจัยเชิงวิชาการ : เป็นปัญหาในวงกว้างทางการศึกษาที่อาจเป็นปัญหาเชิงนโยบายการศึกษาหลักสูตร การบริหารการศึกษา ฯลฯ
3. วัตถุประสงค์/เป้าหมายของการวิจัย
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ : เพื่อแก้ปัญหา/พัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนและปรับปรุง/พัฒนาการจัดการเรียนการสอนของครู
การวิจัยเชิงวิชาการ : เพื่อสร้างองค์ความรู้ ข้อความรู้ทั่วไปซึ่งสามารถสรุปอ้างอิงในประชากรระดับกว้างได้
4. ผู้วิจัย
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ : ดำเนินการโดยครูผู้สอนที่รับผิดชอบในแต่ละรายวิชา
การวิจัยเชิงวิชาการ :ดำเนินการโดยนักวิชาการหรือนักการศึกษาที่ไม่ได้ปฏิบัติงานการสอน
5. ประชากรหรือกลุ่มเป้าหมาย
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ : มุ่งศึกษาผู้เรียนที่เรียนในแต่ละรายวิชาที่มีปัญหาการเรียนรู้ ปัญหาการจัดการเรียนการสอนซึ่งอาจ เป็นรายบุคคล รายกลุ่ม รายห้องเรียน หรือทั้งระดับชั้นเรียนที่ครูนักวิจัยมีส่วนรับผิดชอบในการจัดการเรียนการสอน
การวิจัยเชิงวิชาการ : กลุ่มนักเรียน หรือกลุ่มครูบุคลากรทางการศึกษา หรือกลุ่มเป้าหมายอื่นที่เป็นตัวแทนประชากรที่ผู้วิจัยเลือกมาศึกษา
6. ช่วงเวลาในการทำวิจัย
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ : โดยครูนักวิจัยทำวิจัยควบคู่กับกับการเรียนการสอนหรือให้เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนการสอน เพื่อให้ทันต่อการแก้ไขปัญหาหรือพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนที่เกิดขึ้นในชั้นเรียนส่วนใหญ่ใช้เวลาในการทำวิจัยไม่มากนัก
การวิจัยเชิงวิชาการ : โดยนักวิจัยภายนอกทำวิจัยเมื่อมีปัญหาทางการศึกษาหรือมีความต้องการที่จะศึกษาหาคำตอบใน ประเด็นที่สนใจ ซึ่งอาจเกี่ยวข้องกับการเรียนการสอนหรือประเด็นปัญหาอื่น อาจใช้เวลาในการทำวิจัยนานกว่าการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
7. กระบวนการวิจัย
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ : ใช้กระบวนการวิจัยปฏิบัติการวงจร PAOR ที่เป็นวงจรเดียวกับการปฏิบัติงานตามปกติโดย เริ่มจากวงจรเล็กๆ ของการวางแผน (Plan) การปฏิบัติ (Act) การสังเกต(Observe) และการสะท้อนผล(Reflect) ที่นำไปสู่การพัฒนาการเรียนการสอนเป็นวงจรอย่างต่อเนื่อง
การวิจัยเชิงวิชาการ : ใช้กระบวนการวิจัยโดยกำหนดปัญหาศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง ออกแบบการวิจัย (โดยกำหนด ประชากร กลุ่มตัวอย่าง สร้างเครื่องมือ เก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล) และนำเสนอผลการวิจัย
8. วิธีดำเนินการวิจัย
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ : ไม่เน้นการกำหนดกรอบแนวคิดทฤษฎีไม่เน้นแบบแผนการวิจัยและการออกแบบการวิจัยที่เคร่งครัด
การวิจัยเชิงวิชาการ. : มีการกำหนดกรอบแนวคิดทฤษฎี และพัฒนาทฤษฎี ยึดแบบแผนการวิจัยและการออกแบบการวิจัยที่รัดกุม
9. การกำหนดวิธีการแก้ปัญหาหรือพัฒนาการเรียนการสอน
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ : โดยอาศัยประสบการณ์ของครูนักวิจัยการเรียนรู้จากกรณีตัวอย่าง ของเพื่อนครู หรือการศึกษาค้นหาวิธีการ / นวัตกรรมจากแหล่งความรู้ต่างๆแล้วนำมาทดลองใช้และตรวจสอบผล การวิจัยเชิงวิชาการ ศึกษาทฤษฎีหรือผลการวิจัยที่เกี่ยวข้อง
10. การเก็บรวบรวมข้อมูล
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ : ครูเป็นผู้เก็บข้อมูล โดยใช้วิธีการสังเกตหลักฐานการแสดงพฤติกรรมของผู้เรียน การทดสอบ ประเมินความรู้ ทักษะผู้เรียน
การวิจัยเชิงวิชาการ : ผู้วิจัยเป็นผู้เก็บข้อมูลโดยอาจใช้วิธีการที่หลากหลาย ทั้งแบบสอบถาม แบบทดสอบ การสัมภาษณ์ การสนทนากลุ่ม
11. การวิเคราะห์ข้อมูล
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ : ใช้การวิเคราะห์เนื้อหาและการวิเคราะห์ด้วยสิติขั้นพื้นฐาน ไม่เน้นการวิเคราะห์ด้วยสถิติสูง
การวิจัยเชิงวิชาการ : ส่วนใหญ่ใช้วิธีการวิเคราะห์ทางสถิติทั้งสถิติขั้นพื้นฐานและสถิติขั้นสูงเน้นการสรุปอ้างอิง
12. การเขียนรายงานการวิจัย
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ : ครูนำเสนอผลการวิจัยให้เป็นหลักฐานการปฏิบัติงานในวิชาชีพครู โดยไม่เน้นรูปแบบรายงาน แต่มุ่งนำผลการวิจัยไปใช้เพื่อปรับปรุงพัฒนาการเรียนการสอน
การวิจัยเชิงวิชาการ : มีรูปแบบการเขียนรายงานการวิจัยที่เป็นทางการให้มีคุณภาพมาตรฐานทางวิชาการ
13. การนำผลการวิจัยไปใช้
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ : นำผลไปใช้แก้ปัญหา พัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน และปรับปรุง พัฒนา การเรียนการสอนของครูในแต่ละรายวิชา ไม่มุ่งนำผลไปใช้ในวงกว้างหรือไม่เน้นการสรุปอ้างอิง และตีพิมพ์เผยแพร่เป็นบทความวิชาการ
การวิจัยเชิงวิชาการ : ผลการวิจัยอาจไม่ได้นำไปใช้ในทางปฏิบัติจริง แต่อาจมีการตีพิมพ์เผยแพร่เป็นบทความวิจัยหรือบทความทางวิชาการเพื่อให้เป็นประโยชน์ต่อวงการวิชาการและวงการวิชาชีพ
เรียงเรียงเนื้อหาโดย ดร.เบ็ญจวรรณ ลี้เจริญ
เอกสารอ้างอิง
ชูศรี วงศ์รัตนะ. (2560). เทคนิคการสร้างเครื่องมือวิจัย: แนวทางการนำไปใช้อย่างมืออาชีพ. กรุงเทพฯ: อมรการพิมพ์.
พิชิต ฤทธิ์จรูญ. (2559). เทคนิคการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มาวิทยาลัย.