Difference between revisions of "แนวทางการพัฒนาทักษะชีวิตของเด็ก"

From Knowledge sharing space
Jump to: navigation, search
(การมองตนเองและผู้อื่นในด้านบวก)
 
(One intermediate revision by the same user not shown)
Line 49: Line 49:
 
คือ การมองตนเองและผู้อื่นในแง่บวก คือ การแสดงความรู้สึกที่ดีต่อตนเองและผู้อื่น การจัดการกับอารมณ์ของตนเอง คือ การจัดการกับอารมณ์ตนเองที่เกิดขึ้นอย่างแบพลันที่อาจก่อให้เกิดปัญหาด้วยวิธีการที่เหมาะสมและสร้างสรรค์
 
คือ การมองตนเองและผู้อื่นในแง่บวก คือ การแสดงความรู้สึกที่ดีต่อตนเองและผู้อื่น การจัดการกับอารมณ์ของตนเอง คือ การจัดการกับอารมณ์ตนเองที่เกิดขึ้นอย่างแบพลันที่อาจก่อให้เกิดปัญหาด้วยวิธีการที่เหมาะสมและสร้างสรรค์
  
'''มองดี อารมณ์ดี แล้วเป็นอย่างไร'''
+
'''มองดี อารมณ์ดี แล้วเป็นอย่างไร ?'''
  
 
ผู้ที่มองตนเองและผู้อื่นในแง่บวก จะเป็นผู้ที่มีความคิดสร้างสรรค์ มีสุขภาพดีทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิต มองเห็นทางออกของปัญหาได้ดี ปรับตัวในทุกสถานการณ์
 
ผู้ที่มองตนเองและผู้อื่นในแง่บวก จะเป็นผู้ที่มีความคิดสร้างสรรค์ มีสุขภาพดีทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิต มองเห็นทางออกของปัญหาได้ดี ปรับตัวในทุกสถานการณ์
 
'''แนวทางการเสริมสร้างให้เด็กมองตนเองและผู้อื่นในแง่บวกและจัดการกับอารมณ์ของตนเอง'''
 
  
 
ความคิดเป็นตัวกำหนดชีวิต ดังคำพูดที่ว่า “ความคิดเปลี่ยน ชีวิตเปลี่ยน” ความคิดและอารมณ์มีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน หากเรามีอารมณ์ทางบวกหรือคิดทางบวก พฤติกรรมที่แสดงออกมาย่อมเป็นในทางบวก หากเรามีอารมณ์ทางลบหรือคิดทางลบ พฤติกรรมที่แสดงออกย่อมเป็นไปในทางลบด้วย
 
ความคิดเป็นตัวกำหนดชีวิต ดังคำพูดที่ว่า “ความคิดเปลี่ยน ชีวิตเปลี่ยน” ความคิดและอารมณ์มีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน หากเรามีอารมณ์ทางบวกหรือคิดทางบวก พฤติกรรมที่แสดงออกมาย่อมเป็นในทางบวก หากเรามีอารมณ์ทางลบหรือคิดทางลบ พฤติกรรมที่แสดงออกย่อมเป็นไปในทางลบด้วย
 
 
 
'''ลักษณะความคิดทางบวกและความคิดทางลบ'''
 
'''ลักษณะความคิดทางบวกและความคิดทางลบ'''
ความคิดทางบวก  เป็นความคิดที่นำความสุขสู่ตนเอง ได้แก่ มีอารมณ์ขัน
+
 
มองสิ่งที่เหลืออยู่มากกว่าสิ่งที่ขาด และสิ่งที่ไม่มีหรือหาสิ่งทดแทนจากการสูญเสีย  
+
ความคิดทางบวก  เป็นความคิดที่นำความสุขสู่ตนเอง ได้แก่  
มองปัญหาว่ามีทางแก้ไข เมื่อมีปัญหามองว่า “อะไรผิด” มากกว่าที่จมองว่า “ใครผิด”
+
*มีอารมณ์ขัน มักมองสิ่งที่เหลืออยู่มากกว่าสิ่งที่ขาด และสิ่งที่ไม่มีหรือหาสิ่งทดแทนจากการสูญเสีย  
มีสติอยู่กับปัจจุบัน รู้ว่าตนเองทำอะไร เพื่ออะไร  
+
*มองปัญหาว่ามีทางแก้ไข เมื่อมีปัญหามองว่า “อะไรผิด” มากกว่าที่จมองว่า “ใครผิด”
ตั้งความหวังไว้อย่างสอดคล้องกับสภาพความเป็นจริงทั้งของตนเองและผู้อื่น
+
*มีสติอยู่กับปัจจุบัน รู้ว่าตนเองทำอะไร เพื่ออะไร  
 +
*ตั้งความหวังไว้อย่างสอดคล้องกับสภาพความเป็นจริงทั้งของตนเองและผู้อื่น
 +
 
 
ความคิดทางลบ เป็นความคิดที่นำความทุกข์มาสู่ตนเอง ได้แก่  
 
ความคิดทางลบ เป็นความคิดที่นำความทุกข์มาสู่ตนเอง ได้แก่  
ตั้งความหวังไว้สูงเกินไป ทั้งต่อตนเองและผู้อื่น  
+
*ตั้งความหวังไว้สูงเกินไป ทั้งต่อตนเองและผู้อื่น  
คาดการณ์ไปในทางร้ายหรือทางสูญหาย คิดแต่ความไม่ดี อุปสรรคและปัญหาที่บั่นทอนความสำเร็จ
+
*คาดการณ์ไปในทางร้ายหรือทางสูญหาย คิดแต่ความไม่ดี อุปสรรคและปัญหาที่บั่นทอนความสำเร็จ
ตำหนิเอง หรือมองตนเองว่าไร้ความสามารถ ไม่เก่ง เรียนสู้ผู้อื่นไม่ได้หรือโทษตนเอง
+
*ตำหนิเอง หรือมองตนเองว่าไร้ความสามารถ ไม่เก่ง เรียนสู้ผู้อื่นไม่ได้หรือโทษตนเอง
การไม่อยู่กับปัจจุบัน วิตกกังวลกับอนาคตที่ยังมาไม่ถึง หรือหมกมุ่นครุ่นคิดติอยู่กับอดีตที่ผ่านมา อยากแก้อดีตที่เป็นไปไม่ได้  
+
*การไม่อยู่กับปัจจุบัน วิตกกังวลกับอนาคตที่ยังมาไม่ถึง หรือหมกมุ่นครุ่นคิดติอยู่กับอดีตที่ผ่านมา อยากแก้อดีตที่เป็นไปไม่ได้  
คิดแค้น เอาคืน ฉันทุกข์อย่างไร ผู้อื่นต้องทุกข์เท่ากับฉัน หรือต้องมากกว่าฉัน เป็นต้น
+
*คิดแค้น เอาคืน ฉันทุกข์อย่างไร ผู้อื่นต้องทุกข์เท่ากับฉัน หรือต้องมากกว่าฉัน เป็นต้น
  
 
'''แนวทางปฏิบัติสำหรับผู้ปกครองเพื่อเสริมสร้างการมองบวก'''
 
'''แนวทางปฏิบัติสำหรับผู้ปกครองเพื่อเสริมสร้างการมองบวก'''
Line 95: Line 95:
 
'''แนวทางการเสริมสร้างให้เด็กมองตนเองและผู้อื่นเชิงบวก'''
 
'''แนวทางการเสริมสร้างให้เด็กมองตนเองและผู้อื่นเชิงบวก'''
  
พูดคุย  สนทนา  ซักถาม  ให้ทำงาน  ให้เด็กทำตามความต้องการของผู้ใหญ่ด้วยคำพูด กิริยาท่าทาง  ผ่อนคลาย  ไม่แสดงอำนาจท่าทางที่ข่มขู่
+
*พูดคุย  สนทนา  ซักถาม  ให้ทำงาน  ให้เด็กทำตามความต้องการของผู้ใหญ่ด้วยคำพูด กิริยาท่าทาง  ผ่อนคลาย  ไม่แสดงอำนาจท่าทางที่ข่มขู่
ชวนดูข่าว ภาพยนตร์  ละคร  และชี้ชวนให้วิเคราะห์ถึงปัญหา  สาเหตุ  ผลกระทบของการมองตนเองในแง่ลบ  หรือโทษตนเอง
+
*ชวนดูข่าว ภาพยนตร์  ละคร  และชี้ชวนให้วิเคราะห์ถึงปัญหา  สาเหตุ  ผลกระทบของการมองตนเองในแง่ลบ  หรือโทษตนเอง
ฝึกให้เด็กคิดและมองผู้อื่น  มองสิ่งแวดล้อมรอบตัวในแง่บวก พูดบอกใช้กิริยาท่าทางสื่อสารทางบวกกับพี่น้อง ปู่ย่า  ตายาย  และเพื่อนๆ อย่างสม่ำเสมอ
+
*ฝึกให้เด็กคิดและมองผู้อื่น  มองสิ่งแวดล้อมรอบตัวในแง่บวก พูดบอกใช้กิริยาท่าทางสื่อสารทางบวกกับพี่น้อง ปู่ย่า  ตายาย  และเพื่อนๆ อย่างสม่ำเสมอ
ฝึกให้รู้จักการพูด  ขอบคุณ  ขอโทษ  พูดชมและพูดให้กำลังใจตนเอง  น้อง  พี่และบุคคลอื่นๆ
+
*ฝึกให้รู้จักการพูด  ขอบคุณ  ขอโทษ  พูดชมและพูดให้กำลังใจตนเอง  น้อง  พี่และบุคคลอื่นๆ
เมื่อมีการโต้แย้งหรือความคิดเห็นไม่สอดคล้องกัน  ให้ฝึกแสดงความคิดเห็นเชิงบวก  ไม่ตำหนิ  วิพากษ์วิจารณ์ผู้อื่นด้วยอารมณ์  แต่ให้ใช้เหตุผล
+
*เมื่อมีการโต้แย้งหรือความคิดเห็นไม่สอดคล้องกัน  ให้ฝึกแสดงความคิดเห็นเชิงบวก  ไม่ตำหนิ  วิพากษ์วิจารณ์ผู้อื่นด้วยอารมณ์  แต่ให้ใช้เหตุผล
ฝึกแสดงกริยา  วาจา  ใจ  ให้แสดงออกทางบวก  ได้แก่
+
*ฝึกแสดงกริยา  วาจา  ใจ  ให้แสดงออกทางบวก  ได้แก่ การยิ้ม  (วันนี้คุณยิ้มหรือยัง)
การยิ้ม  (วันนี้คุณยิ้มหรือยัง)
+
*ฝึกการแสดงกิริยาที่ชื่นชม ให้กำลังใจผู้อื่น  เช่น  การแสดงสัญลักษณ์ต่างๆ (ทำท่ามือ), การสบตาหรือใช้สายตาสื่อสาร  ดีใจ  เสียใจ  ชื่นชม  ฯลฯ
การแสดงกิริยาที่ชื่นชม ให้กำลังใจผู้อื่น  เช่น  การแสดงสัญลักษณ์ต่างๆ (ทำท่ามือ)
+
*การพูดทักทายที่แสดงความเป็นมิตร  เช่น  สวัสดีจ๊ะ  ยินดีที่ได้รู้จัก  สวัสดีจ๊ะ  ดีใจจังที่พบเธอ ฯลฯ
การสบตาหรือใช้สายตาสื่อสาร  ดีใจ  เสียใจ  ชื่นชม  ฯลฯ
+
*การสัมผัสด้วยการจับมือ  การกอด  การแตะ  ที่เป็นการให้กำลังใจ  รับรู้ความทุกข์ขงผู้อื่น
การพูดทักทายที่แสดงความเป็นมิตร  เช่น  สวัสดีจ๊ะ  ยินดีที่ได้รู้จัก  สวัสดีจ๊ะ  วันนี้เธอดูสดใสจัง  สวัสดีเพื่อน……….ดีใจจังที่พบเธอ ฯลฯ
+
การสัมผัสด้วยการจับมือ  การกอด  การแตะ  ที่เป็นการให้กำลังใจ  รับรู้ความทุกข์ขงผู้อื่น
+
  
แนวทางการฝึกบุตรหลานให้ควบคุมอารมณ์โกรธ
+
'''แนวทางการฝึกบุตรหลานให้ควบคุมอารมณ์โกรธ'''
  
อารมณ์เป็นความรู้สึกที่เกิดขึ้นจากสิ่งที่มากระทบจิตใจ  เช่น  คำพูด  การกระทำ  สถานการณ์และเหตุการณ์ต่างๆ  ซึ่งอาจแสดงออกทางร่างกายในลักษณะต่างๆ เช่น  หน้าซีด  หน้าแดง  น้ำตาไหล  เสียงดัง  ใจสั่น  หัวใจเต้นเร็ว  เป็นต้น  
+
อารมณ์เป็นความรู้สึกที่เกิดขึ้นจากสิ่งที่มากระทบจิตใจ  เช่น  คำพูด  การกระทำ  สถานการณ์และเหตุการณ์ต่างๆ  ซึ่งอาจแสดงออกทางร่างกายในลักษณะต่างๆ เช่น  หน้าซีด  หน้าแดง  น้ำตาไหล  เสียงดัง  ใจสั่น  หัวใจเต้นเร็ว  เป็นต้น อารมณ์เป็นความรู้สึกที่มีผลกระทบทั้งทางบวกและทางลบ  การแสดงอารมณ์ที่ไม่ได้รับการควบคุม  อาจก่อให้เกิดผลเสียต่อตนเองและผู้อื่น  การควบคุมอารมณ์และการจัดการกับอารมณ์ที่เกิดขึ้นอย่างฉับพลัน
อารมณ์เป็นความรู้สึกที่มีผลกระทบทั้งทางบวกและทางลบ  การแสดงอารมณ์ที่ไม่ได้รับการควบคุม  อาจก่อให้เกิดผลเสียต่อตนเองและผู้อื่น  การควบคุมอารมณ์และการจัดการกับอารมณ์ที่เกิดขึ้นอย่างฉับพลัน
+
เป็นทักษะที่เรียนรู้และฝึกฝนได้  โดยการฝึกอย่างเป็นขั้นตอนที่ถูกวิธีการจัดการอารมณ์  จะทำให้เกิดพฤติกรรมที่ดี  และควรเลือกใช้วิธีการที่เหมาะสมกับสภาพปัญหาและสถานการณ์ ในวัยเด็ก  อารมณ์ที่มักเกิดขึ้นและไม่สามารถควบคุมได้ทันทีทันใด  คือ  อารมณ์โกรธ  ดังนั้น  พ่อแม่  ผู้ปกครองควรมีวิธีการจัดการกับอารมณ์โกรธ  ดังนี้  
เป็นทักษะที่เรียนรู้และฝึกฝนได้  โดยการฝึกอย่างเป็นขั้นตอนที่ถูกวิธีการจัดการอารมณ์  จะทำให้เกิดพฤติกรรมที่ดี  และควรเลือกใช้วิธีการที่เหมาะสมกับสภาพปัญหาและสถานการณ์
+
ในวัยเด็ก  อารมณ์ที่มักเกิดขึ้นและไม่สามารถควบคุมได้ทันทีทันใด  คือ  อารมณ์โกรธ  ดังนั้น  พ่อแม่  ผู้ปกครองควรมีวิธีการจัดการกับอารมณ์โกรธ  ดังนี้  
+
 
 
สอนให้ลูก “รู้จัก” อารมณ์โกรธ
+
'''สอนให้ลูก “รู้จัก” อารมณ์โกรธ'''
เมื่อลูกทะเลาะกันและเกิดอารมณ์โกรธ  พ่อแม่ส่วนใหญ่มักสั่งให้ลูกหยุดโกรธทันทีซึ่งเป็นการฝืนธรรมชาติ  และเราจะพบเห็นเสมอ  พ่อแม่ก็จะเทศนาสั่งสอนอีกยกใหญ่  โดยไม่ใส่ใจว่าอารมณ์ของลูกในขณะนั้นเป็นอย่างไร  ซึ่งเป็นการแก้ปัญหาที่ผิดขั้นตอน  และไร้ผลเพราะขณะที่อารมณ์เป็นฟืนเป็นไฟ  เด็กจะไม่สนใจฟังคำสั่งสอนของพ่อแม่  แต่เด็กต้องการคนที่เข้าใจอารมณ์ว่าเขารู้สึกอย่างไร  การทำให้ลูกรู้ตัวและเข้าใจอารมณ์โกรธขณะนั้น  เป็นสิ่งที่พ่อแม่ควรทำเป็นอันดับแรก  เมื่ออารมณ์โกรธของลูกคลายลงแล้ว  จึงมีความพร้อมที่จะรับฟังคำสั่งสอน  หรือข้อเสนอแนะของพ่อแม่  ฝึกให้ลูกรู้จักและเข้าใจอารมณ์ของตัวเอง  จะทำให้ลูกรู้ตัวเร็วขึ้น  และสามารถจัดการกับอารมณ์ของตนเองได้  ซึ่งเป็นความฉลาดอย่างหนึ่งที่จะช่วยให้ลูกอยู่อย่างมีความสุขร่วมกับผู้อื่น  และประสบความสำเร็จในชีวิต
+
 
+
สิ่งที่พ่อแม่  ผู้ปกครอง  ควรทำ
+
หลักสำคัญในการจัดการความโกรธ  คือ
+
ให้ลูกแยกตัวออกมาจากเหตุการณ์อยู่ในบรรยากาศที่สงบเพื่อผ่อนคลายอารมณ์
+
ให้ระบายความรู้สึก  เช่น  พูดคุยกับคนที่เข้าใจ
+
ให้รู้ตัวว่ากำลังโกรธ  โดยให้สังเกตหน้าตาส่องกระจกดูตนเอง  หรือตรวจเช็คสภาพของตนเองว่า  กำลังเกร็ง  หายใจเกร็ง  ขมวดคิ้วอยู่หรือไม่  หรือควรเช็คสภาพจิตใจว่าปั่นป่วนแค่ไหน
+
เมื่อความโกรธลดลงแล้ว  ค่อยมาหาวิธีแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น  เพื่อป้องกันมิให้เกิดเหตุการณ์แบบนี้อีก
+
 
+
สิ่งที่พ่อแม่  ผู้ปกครอง  ไม่ควรทำ
+
ไม่ปะทะกับลูกในขณะที่พ่อแม่  ผู้ปกครองมีอารมณ์โกรธ  พ่อแม่ควรสำรวจตัวเองด้วยเพราะบางทีก็โกรธที่เห็นลูกทะเลาะกัน  การเข้าใจจัดการความโกรธด้วยอารมณ์  ใช้เสียงดัง  ใช้กำลังลงโทษรุนแรงกับลูก  ลูกจะเลียนแบบการจัดการปัญหาด้วยอารมณ์ของพ่อแม่
+
เมื่อพ่อแม่  ผู้ปกครองเผชิญปัญหาการควบคุมอารมณ์ตนเองไม่ได้ของลูกหลาน
+
เมื่อเกิดความไม่พอใจ  จะควบคุมอารมณ์ตนเองไม่ได้  จะเอะอะโวยวายก่อให้เกิดการทะเลาะวิวาท  หรือมีเรื่องกระทบกระทั่งทางกายอยู่เสมอ
+
 
+
วิธีการจัดการกับปัญหา  การควบคุมอารมณ์ไม่ได้ของบุตรหลาน
+
พ่อแม่แสดงออกให้ลูกรู้ว่า  รักห่วงใยและเข้าใจลูกด้วยการแตะไหล่  จับมือ  โดยกอดและปกป้อง  จากนั้นต้องใกล้ชิดสนิทสนมกับลูกอย่างสม่ำเสมอ
+
พูดคุยให้ลูกเข้าใจถึงความห่วงใยของพ่อแม่ว่า  กลัวจะเกิดผลเสียของการไม่ควบคุมอารมณ์ตนเอง  และการมีเรื่องกระทบกระทั่ง  ทะเลาะวิวาทกับผู้อื่น
+
ชวนลูกฝึกการควบคุมอารมณ์
+
การนับเลข
+
การหายใจเข้าออก
+
หนีออกจากสถานการณ์นั้นไปก่อน
+
ชวนลูกฝึกการรับรู้อารมณ์ตนเอง  เพื่อให้รู้เท่ทันอารมณ์
+
สถานการณ์หรือเหตุการณ์หรือการกระทำ  คำพูดอะไรบ้างที่ทำให้เราเกิดอารมณ์ให้หลีกเลี่ยงหรือรับรู้ว่า  อารมณ์ก้าวร้าว  เกิดขึ้นเมื่อไรก็ให้ควบคุมอารมณ์นั้นไว้  หลีกหนีออกจากต้นเหตุนี้
+
พูดหรือใช้ภาษากายให้กำลังใจ  เมื่อลูกเริ่มฝึกควบคุมอารมณ์ของตนเองได้
+
พ่อแม่ไม่ควรพูดคุยกับลูก  เมื่อต่างฝ่ายต่างมีอารมณ์  และใช้กิริยาท่าทางที่แสดงออกว่าเข้าใจ  เห็นใจ  และรับรู้แล้วพร้อมจะช่วยเหลือลูก
+
 
+
พลิกวิกฤตให้เป็นโอกาส  ด้วยวิธีเชิงบวก
+
ปัญหาในชีวิตประจำวันที่เกิดขึ้น  เป็นโอกาสดีในการฝึกลูกให้แก้ไขปัญหาจากเรื่องง่ายๆ  ไปเรื่องยากๆ พ่อแม่ควรชี้แนะด้วยความรักและชื่นชมเมื่อลูกแก้ปัญหาได้  จะทำให้เด็กมั่นใจและสุดท้ายภาคภูมิใจในตัวพ่อแม่ที่สอนเขาให้รับมือกับปัญหาได้
+
  
 +
เมื่อลูกทะเลาะกันและเกิดอารมณ์โกรธ  พ่อแม่ส่วนใหญ่มักสั่งให้ลูกหยุดโกรธทันทีซึ่งเป็นการฝืนธรรมชาติ  และเราจะพบเห็นเสมอ  พ่อแม่ก็จะสั่งสอนอีกยกใหญ่  โดยไม่ใส่ใจว่าอารมณ์ของลูกในขณะนั้นเป็นอย่างไร  ซึ่งเป็นการแก้ปัญหาที่ผิดขั้นตอน  และไร้ผลเพราะขณะที่อารมณ์เป็นฟืนเป็นไฟ  เด็กจะไม่สนใจฟังคำสั่งสอนของพ่อแม่  แต่เด็กต้องการคนที่เข้าใจอารมณ์ว่าเขารู้สึกอย่างไร  การทำให้ลูกรู้ตัวและเข้าใจอารมณ์โกรธขณะนั้น  เป็นสิ่งที่พ่อแม่ควรทำเป็นอันดับแรก  เมื่ออารมณ์โกรธของลูกคลายลงแล้ว  จึงมีความพร้อมที่จะรับฟังคำสั่งสอน  หรือข้อเสนอแนะของพ่อแม่  ฝึกให้ลูกรู้จักและเข้าใจอารมณ์ของตัวเอง  จะทำให้ลูกรู้ตัวเร็วขึ้น  และสามารถจัดการกับอารมณ์ของตนเองได้  ซึ่งเป็นความฉลาดอย่างหนึ่งที่จะช่วยให้ลูกอยู่อย่างมีความสุขร่วมกับผู้อื่น  และประสบความสำเร็จในชีวิต
  
วิธีการจัดการปัญหา การควบคุมอารมณ์ไม่ได้ของบุตรหลาน
+
'''หลักสำคัญในการจัดการความโกรธ''' คือ
  
พ่อแม่แสดงออกให้ลูกรู้ว่า  รักห่วงใยและเข้าใจลูกด้วยการและไหล่  จับมือ  โดยกอด
+
*ให้ลูกแยกตัวออกมาจากเหตุการณ์อยู่ในบรรยากาศที่สงบเพื่อผ่อนคลายอารมณ์
และปกป้อง จากนั้นต้องใกล้ชิดสนิทสนมกับลูกอย่างสม่ำเสมอ
+
*ให้ระบายความรู้สึก เช่น พูดคุยกับคนที่เข้าใจ
๒. พูดคุยให้ลูกเข้าใจถึงความห่วงใยของพ่อแม่ กลัวจะเกิดผลเสียของการไม่ควบคุมอารมณ์ตนเอง  และการมีเรื่องกระทบกระทั่ง  ทะเลาะวิวาทกับผู้อื่น
+
*ให้รู้ตัวว่ากำลังโกรธ โดยให้สังเกตหน้าตาส่องกระจกดูตนเอง หรือตรวจเช็คสภาพของตนเองว่า กำลังเกร็ง หายใจเกร็ง ขมวดคิ้วอยู่หรือไม่ หรือควรเช็คสภาพจิตใจว่าปั่นป่วนแค่ไหน
3. ชวนลูกฝึกการควบคุมอารมณ์
+
*เมื่อความโกรธลดลงแล้ว ค่อยมาหาวิธีแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น เพื่อป้องกันมิให้เกิดเหตุการณ์แบบนี้อีก
- การนับเลข
+
- การหายใจเข้าออก
+
- หนีออกจากสถานการณ์นั้นไปก่อน
+
4. ชวนลูกฝึกการรับรู้อารมณ์ตนเอง เพื่อให้รู้เท่ากันอารมณ์
+
- สถานการณ์หรือเหตุการณ์หรือกระทำ คำพูดอะไรบ้างที่ทำให้เราเกิดอารมณ์ให้หลีกเลียงหรือรับรู้ว่า อารมณ์ก้าวร้าว โกรธมาก เกิดขึ้นเมื่อไหร่ก็ให้ควบคุมอารมณ์นั้นไว้ หลีกหนีออกจากต้นเหตุนี้
+
พูดหรือใช้ภาษากายให้กำลังใจ  เมื่อลูกเริ่มฝึกควบคุมอารมณ์ของตนเอง
+
5. พ่อแม่ไม่ควรพูดคุยกับลูก  เมื่อต่างฝ่ายต่างมีอารมณ์  และใช้กิริยาท่าทางที่แสดงออกว่าเข้าใจ  เห็นใจ  และรับรู้แล้วพร้อมที่จะช่วยเหลือลูก
+
พลิกวิกฤตให้เป็นโอกาส ด้วยวิธีการเชิงบวก
+
ปัญหาในชีวิตประจำวันที่เกิดขึ้น เป็นโอกาสดีในการฝึกลูกให้แก้ไขปัญหาจากเรื่องง่ายๆ ไปเรื่องยากๆ พ่อแม่ควรชี้แนะด้วยความรักและชื่นชมเมื่อลูกแก้ปัญหาได้ จะทำให้เด็กมั่นใจและสุดท้ายภาคภูมิใจในตัวพ่อแม่ที่สอนเขาให้รับมือกับปัญหาได้
+
  
 +
'''วิธีการจัดการกับปัญหา  การควบคุมอารมณ์ไม่ได้ของบุตรหลาน'''
 +
*พ่อแม่แสดงออกให้ลูกรู้ว่า  รักห่วงใยและเข้าใจลูกด้วยการแตะไหล่  จับมือ  โดยกอดและปกป้อง  จากนั้นต้องใกล้ชิดสนิทสนมกับลูกอย่างสม่ำเสมอ
 +
*พูดคุยให้ลูกเข้าใจถึงความห่วงใยของพ่อแม่ว่า  กลัวจะเกิดผลเสียของการไม่ควบคุมอารมณ์ตนเอง  และการมีเรื่องกระทบกระทั่ง  ทะเลาะวิวาทกับผู้อื่น
 +
*ชวนลูกฝึกการควบคุมอารมณ์
 +
*การนับเลข
 +
*การหายใจเข้าออก
 +
*หนีออกจากสถานการณ์นั้นไปก่อน
 +
*ชวนลูกฝึกการรับรู้อารมณ์ตนเอง  เพื่อให้รู้เท่ทันอารมณ์
 +
*สถานการณ์หรือเหตุการณ์หรือการกระทำ  คำพูดอะไรบ้างที่ทำให้เราเกิดอารมณ์ให้หลีกเลี่ยงหรือรับรู้ว่า  อารมณ์ก้าวร้าว  เกิดขึ้นเมื่อไรก็ให้ควบคุมอารมณ์นั้นไว้  หลีกหนีออกจากต้นเหตุนี้
  
 
== การภาคภูมิใจในตนเองและผู้อื่น ==
 
== การภาคภูมิใจในตนเองและผู้อื่น ==

Latest revision as of 09:13, 28 August 2018

เพื่อเป็นการพัฒนาทักษะชีวิตในขั้นพื้นฐานที่จะมีผลดีต่อไปในอนาคต พ่อ แม่ ผู้ปกครองและครูควรส่งเสริมลักษณะนิสัยขั้นพื้นฐานให้กับเด็กได้แก่ การรักเป็นเห็นคุณค่า, การมองตนเองและผู้อื่นในด้านบวก, การภาคภูมิใจในตนเองและผู้อื่น รายละเอียดถูกกล่าวถึงในแต่ละหัวข้อดังนี้

การรักเป็นเห็นคุณค่า

คือ การรักและเห็นคุณค่าในตนเองและผู้อื่น เป็นความรู้สึกที่บุคคลเข้าใจตนเอง รู้สึกว่าตนเองมีคุณค่า จะทำอะไรด้วยตนเอง ภาคภูมิใจและเชื่อมั่นในตนเอง ผู้ที่รักและเห็นคุณค่าในตนเอง จะเป็นผู้ที่รู้จักเพิ่งตนเอง มีความรับผิดชอบ มีความภาคภูมิใจในตนเองสูง และสามารถเผชิญปัญหากับการเรียน การทำงาน การดำเนินชีวิตได้อย่างมีประสิทธิภาพ เมื่อเกิดความผิดพลาดจะยอมรับและแก้ไขข้อผิดพลาดได้อย่างรวดเร็ว มีสัมพันธภาพกับผู้อื่นเกี่ยวข้องได้อย่างอบอุ่น อ่อนโยน มากกว่าสัมพันธภาพที่แข็งกร้าว และควบคุมตนเองให้ดำเนินชีวิตได้อย่างมีความสุข เกิดแรงจูงใจที่จะทำประโยชน์ต่อครอบครัวและส่วนรวมต่อไป

แนวทางการปฏิบัติของพ่อแม่ ผู้ปกครอง

  • ชี้แนะสนับสนุน และให้กำลังใจแก่บุตรหลานให้มีความพยายาม อดทน และตั้งใจทำในสิ่งที่ตั้งใจไว้จนสำเร็จ
  • สอนให้บุตรหลานรู้จักให้กำลังใจ หรือคำชมเชยแก่ตนเองและผู้อื่นด้วยความจริงใจ
  • ให้เวลากับบุตรหลานได้ร่วมกิจกรรมในครอบครัว โรงเรียน และชุมชน เช่น ทำงานบ้านพัฒนาโรงเรียน วัด และชุมชน เป็นต้น

แนวทางการเสริมสร้างให้เด็กรักและเห็นคุณค่าในตนเอง

การสร้างความรู้สึกดี การมองเห็นสิ่งดีๆ ที่ตนเองมีอยู่ย่อมเป็นการสร้างคุณค่าในตนเอง เมื่อเห็นว่าตนเองเป็นคนดีมีคุณค่าก็ย่อมพยายามทำสิ่งที่ดีงามในชีวิตและไม่นำสิ่งเลวร้ายหรือไม่ดีเข้ามาในชีวิต

การรักและเห็นคุณค่าในตนเองเป็นความจำเป็นขั้นพื้นฐานของการดำเนินชีวิต การส่งเสริมและปลูกฝังให้เด็กวัยอายุ 6-12 ปี ให้รักและเห็นคุณค่าในตนเองนั้น ทางด้านจิตวิทยาถือว่าวัยนี้เป็นวัยที่อยู่ในช่วงพัฒนาความรู้สึกและรับผิดชอบในตนเองที่จะเป็นพื้นฐานที่สำคัญในการดำรงชีวิตอย่างมั่นคงต่อไปในอนาคต นอกจากนี้ยังเป็นวัยที่เด็กสามารถพึ่งพาตนเอง มีความอยากรู้ อยากเห็น มีความสังเกต มีความสนใจต่อสิ่งต่างๆ รอบตัวและไกลออกไปจากตังอย่างต่อเนื่องมีความสามรถในการแก้ปัญหาตามระดับสติปัญญา มีความต้องการที่จะเป็นคนสำคัญ เป็นที่นิยมชมชอบของบุคคลแวดล้อม ซึ่งลักษณะที่กล่าวมาข้างต้นนับว่าเป็นลักษณะที่มีความพร้อมและเป็นไปได้สูง ในการเสริมสร้างปลูกฝังการรักษาและเห็นคุณค่าในตนเองของเด็กในวัยนี้ เพื่อเป็นการพัฒนาทักษะชีวิตในขั้นพื้นฐานที่จะมีผลดีต่อไปในอนาคต

ลักษณะของการรักและเห็นคุณค่าในตนเอง

ลักษณะของบุคคลทีรักและเห็นคุณค่าในตนเองสูงจะเป็นผู้ที่มีความคิดในด้านบวก(Positive Thinkng) บอคุณค่าในความสามารถของตนเองและผู้อื่นได้ตามความเป็นจริง มีความเป็นตัวของตัวเอง พึ่งตนเองได้ไม่รอพึ่งผู้อื่น มีความคิดที่ก่อให้เกิดการกระทำที่สร้างสรรค์ ลักษณะของบุคคลที่รักและเห็นคุณค่าในตนเองสูง จำแนกได้ดังนี้

  • มีใบหน้า ท่าทาง วิธีการพูด การเคลื่อนไหวแฝงไว้ด้วยความแจ่มใส ร่าเริง มีชีวิตชีวา มีความปิติยินดีปรากฏอยู่ในตัว
  • สามารถพูดถึงความสำเร็จ หรือข้อบกพร่องของตนได้อย่างตรงไปตรงมา และด้วยน้ำใจจริง
  • สามารถเป็นผู้ให้ และผู้รับคำชมเชยอย่างเป็นปกติ แสดงออกซึ่งความรัก ความซาบซึ้งต่างๆ ให้เห็นอยู่เสมอ
  • สามารถเปิดใจรับคำตำหนิและไม่ทุกข์ร้อน เมื่อมีผู้กล่าวถึงความผิดพลาดของตน
  • การพูดและการเคลื่อนไหวมีลักษณะไม่วิตกกังวลเป็นไปตามธรรมชาติ
  • มีความกลมกลืนกันเป็นอย่างดีระหว่างคำพูด การกระทำ การแสดงออก และการเคลื่อนไหว
  • มีทัศนคติที่เปิดเผย อยากรู้อยากเห็นเกี่ยวกับแนวคิด และประสบการณ์ และโอกาสใหม่ๆของชีวิต
  • การที่จะเห็นความสนุกสนานกับมุกตลกของชีวิตทั้งของตนและผู้อื่น และพูดถึงมุมตลกนั้นให้ผู้อื่นรับรู้อยู่เสมอ เช่น เขาเป็นคนโก๊ะมากเลย ฯลฯ
  • มีทัศนะคติที่ยืดหยุ่นในการตอบสนองต่อสถานการณ์ และสิ่งท้าทาย
  • มีพฤติกรรมการแสดงออกในทางที่เหมาะสมกับกาลเทศะและสถานการณ์
  • เป็นตัวของตัวเอง แม้ตกอยู่ภายในสถานการณ์ที่มีความเครียด
  • พึ่งตนเองได้โดยไม่รีรอการช่วยเหลือจากผู้อื่น

แนวปฏิบัติสำหรับพ่อแม่ผู้ปกครอง

1. ให้กำลังใจและพูดชื่นชม

พ่อแม่ ผู้ปกครอง ต้องส่งเสริมให้บุตรหลานพัฒนาตนเองตามความสามารถ ความถนัด และความชื่นชมของตนเองอย่างมีเหตุผลบนพื้นฐานข้อมูลที่เป็นจริง ของเด็ก ลูกหลาน และพึงตระหนักอยู่เสมอว่า หัวใจสำคัญของการพัฒนาและเสริมสร้างการรักและเห็นคุณค่าในตนเองและผู้อื่นให้เกิดขึ้นในตัวเด็ก คือ “พ่อแม่ ผู้ปกครองมีความรักและเห็นคุณค่าในตัวบุตรหลาน เคารพต่อศักดิ์ความเป็นมนุษย์ของบุตรหลาน มีความเชื่อว่าบุตรหลานสามารถพัฒนาได้ตามศักยภาพ ใช้การสื่อสารทางบวก ที่สร้างกำลังใจ พูดชื่นชมทุกครั้งที่บุตรหลานปฏิบัติดี”

2. ยกย่องให้เป็นบุคคลสำคัญ

โดยสอนให้รู้จักความรับผิดชอบภาระพื้นฐานในชีวิตของเขา มอบเป็นผู้รับผิดชอบเต็มในงาน แล้วยกย่องชมเชยให้บุคคลอื่นฟัง ให้รางวัลเมื่อเห็นว่าเขาดีอย่างต่อเนื่อง ให้คุณค่าการกระทำของเขา เช่น ช่วยงานบ้าน ล้างแก้ว ล้างจาน ช่วยปิดไฟ ปิดพัดลม หรือปิดประตู ดูแลมุมต้นไม้ในบ้าน ดูแลสัตว์เลี้ยง ให้อาหารสัตว์ในบ้าน ดูแลขยะ เอาขยะไปทิ้ง ซักผ้า เอาผ้าออกจากเครื่องไปตาก ฯลฯ


การมองตนเองและผู้อื่นในด้านบวก

คือ การมองตนเองและผู้อื่นในแง่บวก คือ การแสดงความรู้สึกที่ดีต่อตนเองและผู้อื่น การจัดการกับอารมณ์ของตนเอง คือ การจัดการกับอารมณ์ตนเองที่เกิดขึ้นอย่างแบพลันที่อาจก่อให้เกิดปัญหาด้วยวิธีการที่เหมาะสมและสร้างสรรค์

มองดี อารมณ์ดี แล้วเป็นอย่างไร ?

ผู้ที่มองตนเองและผู้อื่นในแง่บวก จะเป็นผู้ที่มีความคิดสร้างสรรค์ มีสุขภาพดีทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิต มองเห็นทางออกของปัญหาได้ดี ปรับตัวในทุกสถานการณ์

ความคิดเป็นตัวกำหนดชีวิต ดังคำพูดที่ว่า “ความคิดเปลี่ยน ชีวิตเปลี่ยน” ความคิดและอารมณ์มีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน หากเรามีอารมณ์ทางบวกหรือคิดทางบวก พฤติกรรมที่แสดงออกมาย่อมเป็นในทางบวก หากเรามีอารมณ์ทางลบหรือคิดทางลบ พฤติกรรมที่แสดงออกย่อมเป็นไปในทางลบด้วย

ลักษณะความคิดทางบวกและความคิดทางลบ

ความคิดทางบวก เป็นความคิดที่นำความสุขสู่ตนเอง ได้แก่

  • มีอารมณ์ขัน มักมองสิ่งที่เหลืออยู่มากกว่าสิ่งที่ขาด และสิ่งที่ไม่มีหรือหาสิ่งทดแทนจากการสูญเสีย
  • มองปัญหาว่ามีทางแก้ไข เมื่อมีปัญหามองว่า “อะไรผิด” มากกว่าที่จมองว่า “ใครผิด”
  • มีสติอยู่กับปัจจุบัน รู้ว่าตนเองทำอะไร เพื่ออะไร
  • ตั้งความหวังไว้อย่างสอดคล้องกับสภาพความเป็นจริงทั้งของตนเองและผู้อื่น

ความคิดทางลบ เป็นความคิดที่นำความทุกข์มาสู่ตนเอง ได้แก่

  • ตั้งความหวังไว้สูงเกินไป ทั้งต่อตนเองและผู้อื่น
  • คาดการณ์ไปในทางร้ายหรือทางสูญหาย คิดแต่ความไม่ดี อุปสรรคและปัญหาที่บั่นทอนความสำเร็จ
  • ตำหนิเอง หรือมองตนเองว่าไร้ความสามารถ ไม่เก่ง เรียนสู้ผู้อื่นไม่ได้หรือโทษตนเอง
  • การไม่อยู่กับปัจจุบัน วิตกกังวลกับอนาคตที่ยังมาไม่ถึง หรือหมกมุ่นครุ่นคิดติอยู่กับอดีตที่ผ่านมา อยากแก้อดีตที่เป็นไปไม่ได้
  • คิดแค้น เอาคืน ฉันทุกข์อย่างไร ผู้อื่นต้องทุกข์เท่ากับฉัน หรือต้องมากกว่าฉัน เป็นต้น

แนวทางปฏิบัติสำหรับผู้ปกครองเพื่อเสริมสร้างการมองบวก

การสื่อสารเชิงบวกเป็นทักษะพื้นฐานที่พ่อแม่ ผู้ปกครองควรเรียนรู้และนำไปปฏิบัติกับบุตรหลานทั้งคำพูดและกิริยาท่าทางดังนี้

  • สบตา แสดงสีหน้ายอมรับขณะสนทนา และเลือกใช้คำพูดที่เหมาะสม
  • แสดงท่าทางที่เหมาะสม เช่น ผงกศีรษะรับฟัง โน้มตัวเข้าหาแสดงให้เห็นว่ารับฟังด้วยความตั้งใจ
  • รู้จักการสัมผัส เช่น การจับมือ โอบกอด ทำให้รู้สึกอบอุ่น
  • หมั่นบอกความรู้สึกของตนให้บุตรหลานได้รับรู้ทำให้เข้าใจกันและกัน
  • รับฟังความคิดเห็นของบุตรหลาน รู้จักชื่นชมและขอบคุณ
  • รักษาบรรยากาศที่ดีในครอบครัว
  • สร้างข้อตกลงที่ชัดเจนภายในครอบครัว ว่าสิ่งไหนปฏิบัติได้/ไม่ได้ หรือกำหนดหน้าทีในการทำงานภายในครอบครัว
  • ควรปฏิบัติตนเสมอต้นเสมอปลาย
  • แสดงการรับรู้หรือให้รางวัลชื่นชมต่อพฤติกรรมที่พึงประสงค์
  • ไม่แสดงอารมณ์โกรธ หรือสูญเสียการควบคุมตนเอง
  • ไม่ทะเลาะกันให้บุตรหลานเห็น
  • ยอมรับข้อผิดพลาดของสมาชิกในครอบครัวว่าเป็นเรื่องธรรมดาที่เกิดขึ้นได้
  • ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีต่อบุตรหลานทั้งคำพูดและการกระทำในสิ่งที่อยากให้บุตรหลานปฏิบัติ
  • แสดงความรู้สึกและใช้เหตุผลอธิบายให้บุตรหลานเข้าใจในสิ่งที่ไม่อนุญาตให้บุตรหลานปฏิบัติ
  • ปฏิบัติให้บุตรหลานเห็นถึงการยมรับความคิดเห็นของผู้อื่นหรือเคารพสิทธิของผู้อื่น
  • ใช้อารมณ์ขันตามโอกาสเหมาะสม
  • ไม่เปรียบเทียบเขากับผู้อื่น
  • พยายามให้เขามีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆอยู่เสมอ

แนวทางการเสริมสร้างให้เด็กมองตนเองและผู้อื่นเชิงบวก

  • พูดคุย สนทนา ซักถาม ให้ทำงาน ให้เด็กทำตามความต้องการของผู้ใหญ่ด้วยคำพูด กิริยาท่าทาง ผ่อนคลาย ไม่แสดงอำนาจท่าทางที่ข่มขู่
  • ชวนดูข่าว ภาพยนตร์ ละคร และชี้ชวนให้วิเคราะห์ถึงปัญหา สาเหตุ ผลกระทบของการมองตนเองในแง่ลบ หรือโทษตนเอง
  • ฝึกให้เด็กคิดและมองผู้อื่น มองสิ่งแวดล้อมรอบตัวในแง่บวก พูดบอกใช้กิริยาท่าทางสื่อสารทางบวกกับพี่น้อง ปู่ย่า ตายาย และเพื่อนๆ อย่างสม่ำเสมอ
  • ฝึกให้รู้จักการพูด ขอบคุณ ขอโทษ พูดชมและพูดให้กำลังใจตนเอง น้อง พี่และบุคคลอื่นๆ
  • เมื่อมีการโต้แย้งหรือความคิดเห็นไม่สอดคล้องกัน ให้ฝึกแสดงความคิดเห็นเชิงบวก ไม่ตำหนิ วิพากษ์วิจารณ์ผู้อื่นด้วยอารมณ์ แต่ให้ใช้เหตุผล
  • ฝึกแสดงกริยา วาจา ใจ ให้แสดงออกทางบวก ได้แก่ การยิ้ม (วันนี้คุณยิ้มหรือยัง)
  • ฝึกการแสดงกิริยาที่ชื่นชม ให้กำลังใจผู้อื่น เช่น การแสดงสัญลักษณ์ต่างๆ (ทำท่ามือ), การสบตาหรือใช้สายตาสื่อสาร ดีใจ เสียใจ ชื่นชม ฯลฯ
  • การพูดทักทายที่แสดงความเป็นมิตร เช่น สวัสดีจ๊ะ ยินดีที่ได้รู้จัก สวัสดีจ๊ะ ดีใจจังที่พบเธอ ฯลฯ
  • การสัมผัสด้วยการจับมือ การกอด การแตะ ที่เป็นการให้กำลังใจ รับรู้ความทุกข์ขงผู้อื่น

แนวทางการฝึกบุตรหลานให้ควบคุมอารมณ์โกรธ

อารมณ์เป็นความรู้สึกที่เกิดขึ้นจากสิ่งที่มากระทบจิตใจ เช่น คำพูด การกระทำ สถานการณ์และเหตุการณ์ต่างๆ ซึ่งอาจแสดงออกทางร่างกายในลักษณะต่างๆ เช่น หน้าซีด หน้าแดง น้ำตาไหล เสียงดัง ใจสั่น หัวใจเต้นเร็ว เป็นต้น อารมณ์เป็นความรู้สึกที่มีผลกระทบทั้งทางบวกและทางลบ การแสดงอารมณ์ที่ไม่ได้รับการควบคุม อาจก่อให้เกิดผลเสียต่อตนเองและผู้อื่น การควบคุมอารมณ์และการจัดการกับอารมณ์ที่เกิดขึ้นอย่างฉับพลัน เป็นทักษะที่เรียนรู้และฝึกฝนได้ โดยการฝึกอย่างเป็นขั้นตอนที่ถูกวิธีการจัดการอารมณ์ จะทำให้เกิดพฤติกรรมที่ดี และควรเลือกใช้วิธีการที่เหมาะสมกับสภาพปัญหาและสถานการณ์ ในวัยเด็ก อารมณ์ที่มักเกิดขึ้นและไม่สามารถควบคุมได้ทันทีทันใด คือ อารมณ์โกรธ ดังนั้น พ่อแม่ ผู้ปกครองควรมีวิธีการจัดการกับอารมณ์โกรธ ดังนี้

สอนให้ลูก “รู้จัก” อารมณ์โกรธ

เมื่อลูกทะเลาะกันและเกิดอารมณ์โกรธ พ่อแม่ส่วนใหญ่มักสั่งให้ลูกหยุดโกรธทันทีซึ่งเป็นการฝืนธรรมชาติ และเราจะพบเห็นเสมอ พ่อแม่ก็จะสั่งสอนอีกยกใหญ่ โดยไม่ใส่ใจว่าอารมณ์ของลูกในขณะนั้นเป็นอย่างไร ซึ่งเป็นการแก้ปัญหาที่ผิดขั้นตอน และไร้ผลเพราะขณะที่อารมณ์เป็นฟืนเป็นไฟ เด็กจะไม่สนใจฟังคำสั่งสอนของพ่อแม่ แต่เด็กต้องการคนที่เข้าใจอารมณ์ว่าเขารู้สึกอย่างไร การทำให้ลูกรู้ตัวและเข้าใจอารมณ์โกรธขณะนั้น เป็นสิ่งที่พ่อแม่ควรทำเป็นอันดับแรก เมื่ออารมณ์โกรธของลูกคลายลงแล้ว จึงมีความพร้อมที่จะรับฟังคำสั่งสอน หรือข้อเสนอแนะของพ่อแม่ ฝึกให้ลูกรู้จักและเข้าใจอารมณ์ของตัวเอง จะทำให้ลูกรู้ตัวเร็วขึ้น และสามารถจัดการกับอารมณ์ของตนเองได้ ซึ่งเป็นความฉลาดอย่างหนึ่งที่จะช่วยให้ลูกอยู่อย่างมีความสุขร่วมกับผู้อื่น และประสบความสำเร็จในชีวิต

หลักสำคัญในการจัดการความโกรธ คือ

  • ให้ลูกแยกตัวออกมาจากเหตุการณ์อยู่ในบรรยากาศที่สงบเพื่อผ่อนคลายอารมณ์
  • ให้ระบายความรู้สึก เช่น พูดคุยกับคนที่เข้าใจ
  • ให้รู้ตัวว่ากำลังโกรธ โดยให้สังเกตหน้าตาส่องกระจกดูตนเอง หรือตรวจเช็คสภาพของตนเองว่า กำลังเกร็ง หายใจเกร็ง ขมวดคิ้วอยู่หรือไม่ หรือควรเช็คสภาพจิตใจว่าปั่นป่วนแค่ไหน
  • เมื่อความโกรธลดลงแล้ว ค่อยมาหาวิธีแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น เพื่อป้องกันมิให้เกิดเหตุการณ์แบบนี้อีก

วิธีการจัดการกับปัญหา การควบคุมอารมณ์ไม่ได้ของบุตรหลาน

  • พ่อแม่แสดงออกให้ลูกรู้ว่า รักห่วงใยและเข้าใจลูกด้วยการแตะไหล่ จับมือ โดยกอดและปกป้อง จากนั้นต้องใกล้ชิดสนิทสนมกับลูกอย่างสม่ำเสมอ
  • พูดคุยให้ลูกเข้าใจถึงความห่วงใยของพ่อแม่ว่า กลัวจะเกิดผลเสียของการไม่ควบคุมอารมณ์ตนเอง และการมีเรื่องกระทบกระทั่ง ทะเลาะวิวาทกับผู้อื่น
  • ชวนลูกฝึกการควบคุมอารมณ์
  • การนับเลข
  • การหายใจเข้าออก
  • หนีออกจากสถานการณ์นั้นไปก่อน
  • ชวนลูกฝึกการรับรู้อารมณ์ตนเอง เพื่อให้รู้เท่ทันอารมณ์
  • สถานการณ์หรือเหตุการณ์หรือการกระทำ คำพูดอะไรบ้างที่ทำให้เราเกิดอารมณ์ให้หลีกเลี่ยงหรือรับรู้ว่า อารมณ์ก้าวร้าว เกิดขึ้นเมื่อไรก็ให้ควบคุมอารมณ์นั้นไว้ หลีกหนีออกจากต้นเหตุนี้

การภาคภูมิใจในตนเองและผู้อื่น

การใช้ข้อมูลให้เป็นประโยชน์สร้างความสุขให้กับตัวเอง

เอกสารอ้างอิง

สำนักวิชาการและมาตราฐานการศึกษา และ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. (2561). เอกสารการเสริมสร้างทักษะชีวิตตามจุดเน้นการพัฒนาผู้เรียนโดยผู้ปกครอง"เอาถ่านทั้งบ้านเลย". สืบค้นจาก http://lifeskills.obec.go.th/old/pdf/e-Book_เอาถ่านทั้งบ้านเลย.pdf