Difference between revisions of "Facilitator ผู้อำนวยการเรียนรู้"
(→ผู้อำนวยการเรียนรู้ (Facilitator) คืออะไร?) |
(→Facilitator หรือ ผู้อำนวยการเรียนรู้ คืออะไร?) |
||
(One intermediate revision by the same user not shown) | |||
Line 1: | Line 1: | ||
== Facilitator หรือ ผู้อำนวยการเรียนรู้ คืออะไร? == | == Facilitator หรือ ผู้อำนวยการเรียนรู้ คืออะไร? == | ||
− | + | ||
+ | บรรจง (2556) กล่าวว่าคือการที่ครูพูดแต่น้อยเพื่อให้นักเรียนได้คิดมากขึ้น อย่าพยายามบรรยายในห้องมากจนเกินไปไม่ควรเกิน 20 นาที ควรแบ่งออกเป็นช่วงๆ อาจเป็นช่วงละ 10นาที เพื่อปลีกเวลาให้เด็กๆได้พูดคุยหารือเกี่ยวกับเรื่องประเด็นที่ครูอาจนำเสนอ โดยอาจทำเป็นคู่ๆ หากครูเป็นผู้บรรยายเสียส่วนใหญ่ก็จะทำให้บรรยากาศของการคิดลดน้อยลงควรมอบให้เด็กทำอะไรมากขึ้น ก็จะทำให้เขาคิดมากขึ้น | ||
+ | |||
+ | สุกัญญา (2559) ระบุว่าคือ การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยผู้สอนจะเปลี่ยนบทบาทจากการเป็นผู้สอนบรรยายเนื้อหาต่างๆอย่างละเอียดมาเป็นผู้อำนวยการให้เกิดความรู้ มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างแรงบันดาลใจกระตุ้นความอยากรู้ของผู้เรียน, เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ค้นหา รวบรวมข้อมูลแยกแยะและนำมาสร้างเป็นความรู้ และเพื่อให้ผู้เรียนได้มีโอกาสหาทางแก้ปัญหาด้วยตนเอง | ||
+ | |||
+ | กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบ ครูเป็น Facilitator มีลักษณะดังนี้ | ||
+ | |||
+ | 1. การจัดกระบวนการเรียนรู้ มุ่งเน้นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยเหลือเวลาให้เด็กค้นคว้าและนำเสนอ | ||
+ | |||
+ | 2. การตอบคำถาม ด้วยคำถาม หลีกเลี่ยงการอธิบายอย่างละเอียด ให้เด็กค้นหาคำตอบเอง ครูจึงตอบคำถามเพื่อให้เด็กสนใจต่อ และควรตัดสินน้อย หลีกเลี่ยงการตัดสินแบบเด็ดขาด | ||
+ | |||
+ | 3. การสนับสนุนให้คิด ใช้เรื่องที่เด็กสนใจเป็นเนื้อหานำ มีการค้นคว้า การทำโครงงานและการนำเสนอผลงานด้วยวิธีการต่างๆ | ||
+ | |||
+ | 4. การรับฟังและให้กำลังใจ ครูจะเป็นผู้รับฟังสิ่งที่เด็กคิด นำเสนอ และเรียนรู้ไปพร้อมกับเด็กๆ มีการติชมและแสดงความคิดเห็นในจังหวะที่เหมาะสม | ||
== เอกสารอ้างอิง == | == เอกสารอ้างอิง == | ||
บรรจง อมรชีวิน. (2556). เปลี่ยนห้องเรียนให้เป็นห้องคิด(Thinking Classroom). กรุงเทพฯ: หจก.ภาพพิมพ์. | บรรจง อมรชีวิน. (2556). เปลี่ยนห้องเรียนให้เป็นห้องคิด(Thinking Classroom). กรุงเทพฯ: หจก.ภาพพิมพ์. |
Latest revision as of 10:54, 21 June 2018
Facilitator หรือ ผู้อำนวยการเรียนรู้ คืออะไร?
บรรจง (2556) กล่าวว่าคือการที่ครูพูดแต่น้อยเพื่อให้นักเรียนได้คิดมากขึ้น อย่าพยายามบรรยายในห้องมากจนเกินไปไม่ควรเกิน 20 นาที ควรแบ่งออกเป็นช่วงๆ อาจเป็นช่วงละ 10นาที เพื่อปลีกเวลาให้เด็กๆได้พูดคุยหารือเกี่ยวกับเรื่องประเด็นที่ครูอาจนำเสนอ โดยอาจทำเป็นคู่ๆ หากครูเป็นผู้บรรยายเสียส่วนใหญ่ก็จะทำให้บรรยากาศของการคิดลดน้อยลงควรมอบให้เด็กทำอะไรมากขึ้น ก็จะทำให้เขาคิดมากขึ้น
สุกัญญา (2559) ระบุว่าคือ การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยผู้สอนจะเปลี่ยนบทบาทจากการเป็นผู้สอนบรรยายเนื้อหาต่างๆอย่างละเอียดมาเป็นผู้อำนวยการให้เกิดความรู้ มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างแรงบันดาลใจกระตุ้นความอยากรู้ของผู้เรียน, เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ค้นหา รวบรวมข้อมูลแยกแยะและนำมาสร้างเป็นความรู้ และเพื่อให้ผู้เรียนได้มีโอกาสหาทางแก้ปัญหาด้วยตนเอง
กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบ ครูเป็น Facilitator มีลักษณะดังนี้
1. การจัดกระบวนการเรียนรู้ มุ่งเน้นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยเหลือเวลาให้เด็กค้นคว้าและนำเสนอ
2. การตอบคำถาม ด้วยคำถาม หลีกเลี่ยงการอธิบายอย่างละเอียด ให้เด็กค้นหาคำตอบเอง ครูจึงตอบคำถามเพื่อให้เด็กสนใจต่อ และควรตัดสินน้อย หลีกเลี่ยงการตัดสินแบบเด็ดขาด
3. การสนับสนุนให้คิด ใช้เรื่องที่เด็กสนใจเป็นเนื้อหานำ มีการค้นคว้า การทำโครงงานและการนำเสนอผลงานด้วยวิธีการต่างๆ
4. การรับฟังและให้กำลังใจ ครูจะเป็นผู้รับฟังสิ่งที่เด็กคิด นำเสนอ และเรียนรู้ไปพร้อมกับเด็กๆ มีการติชมและแสดงความคิดเห็นในจังหวะที่เหมาะสม
เอกสารอ้างอิง
บรรจง อมรชีวิน. (2556). เปลี่ยนห้องเรียนให้เป็นห้องคิด(Thinking Classroom). กรุงเทพฯ: หจก.ภาพพิมพ์.