Difference between revisions of "Active learning"

From Knowledge sharing space
Jump to: navigation, search
(หลักการของการเรียนรู้แบบActive learning)
 
(One intermediate revision by the same user not shown)
Line 5: Line 5:
  
 
== หลักการของการเรียนรู้แบบActive learning ==
 
== หลักการของการเรียนรู้แบบActive learning ==
คือ 1. การกระทำโดยตรง 2. การสะท้อนของการกระทำ 3. การเสริมแรงภายในการคิดค้นและกิจกรรมทั่วไป 4. การแก้ปัญหา
+
วศิณีส์ (2560) ระบุว่ามีหลักการอยู่ 4ข้อคือ
  
นอกจากนี้ ทฤษฏีของเพียเจต์ ระบุว่า การที่เด็กกระตือรือร้นในการสร้างองค์ความรู้เพื่อจะเข้าใจสิ่งต่างๆ ด้วยกระบวนการที่เด็กค้นพบสิ่งต่างๆด้วยตัวเอง เพียเจต์มองว่าเด็กเป็นนักวิทยาศาสตร์น้อย เด็กแต่ละคนเป็นนักคิด บทบาทของผู้ใหญ่คือการสร้างสิ่งแวดล้อมให้เด็กตั้งสมมติฐานและมี[[เทคนิคการใช้คำถามเพื่อการคิดวิเคราะห์และการคิดสร้างสรรค์]]ที่เหมาะกับเด็ก (วศิณีส์, 2560)
+
1. การกระทำโดยตรง
 +
 
 +
2. การสะท้อนของการกระทำ
 +
 
 +
3. การเสริมแรงภายในการคิดค้นและกิจกรรมทั่วไป
 +
 
 +
4. การแก้ปัญหา
 +
 
 +
นอกจากนี้ ทฤษฏีของเพียเจต์ กล่าวว่า ในการเรียนรู้แบบนี้ เด็กกระตือรือร้นในการสร้างองค์ความรู้เพื่อจะเข้าใจสิ่งต่างๆ ด้วยกระบวนการที่เด็กค้นพบสิ่งต่างๆด้วยตัวเอง เพียเจต์มองว่าเด็กเป็นนักวิทยาศาสตร์น้อย เด็กแต่ละคนเป็นนักคิด บทบาทของผู้ใหญ่คือการสร้างสิ่งแวดล้อมให้เด็กตั้งสมมติฐานและมี[[เทคนิคการใช้คำถามเพื่อการคิดวิเคราะห์และการคิดสร้างสรรค์]]ที่เหมาะกับเด็ก (วศิณีส์, 2560)
  
 
== เอกสารอ้างอิง ==
 
== เอกสารอ้างอิง ==
  
 
วศิณีส์ อิศรเสนา ณ อยุธยา. (2560). เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับ STEM Education (สะเต็มศึกษา). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
 
วศิณีส์ อิศรเสนา ณ อยุธยา. (2560). เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับ STEM Education (สะเต็มศึกษา). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Latest revision as of 13:15, 30 May 2018

การเรียนรู้ด้วยการลงมือกระทำ/การเรียนรู้อย่างกระตือรือร้น (Active learning)

ความหมาย

คือการที่เด็กสร้างองค์ความรู้จากการลงมือทำกิจกรรมต่างๆ และทำกิจกรรมนั้นๆ อย่างกระตือรือร้น ซึ่งกิจกรรมนั้นเกี่ยวข้องกับการแก้ปัญหาต่างๆ หรือหมายถึงเด็กสร้างองค์ความรู้ผ่านกิจกรรมโดยใช้ร่างกายและจิตใจ เด็กกระตือรือร้นในการตั้งคำถามหรือการเรียนรู้ที่เด็กได้กระทำกับวัตถุ ได้มีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลความคิดและเหตุการณ์ จนสามารถสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง (วศิณีส์, 2560)

หลักการของการเรียนรู้แบบActive learning

วศิณีส์ (2560) ระบุว่ามีหลักการอยู่ 4ข้อคือ

1. การกระทำโดยตรง

2. การสะท้อนของการกระทำ

3. การเสริมแรงภายในการคิดค้นและกิจกรรมทั่วไป

4. การแก้ปัญหา

นอกจากนี้ ทฤษฏีของเพียเจต์ กล่าวว่า ในการเรียนรู้แบบนี้ เด็กกระตือรือร้นในการสร้างองค์ความรู้เพื่อจะเข้าใจสิ่งต่างๆ ด้วยกระบวนการที่เด็กค้นพบสิ่งต่างๆด้วยตัวเอง เพียเจต์มองว่าเด็กเป็นนักวิทยาศาสตร์น้อย เด็กแต่ละคนเป็นนักคิด บทบาทของผู้ใหญ่คือการสร้างสิ่งแวดล้อมให้เด็กตั้งสมมติฐานและมีเทคนิคการใช้คำถามเพื่อการคิดวิเคราะห์และการคิดสร้างสรรค์ที่เหมาะกับเด็ก (วศิณีส์, 2560)

เอกสารอ้างอิง

วศิณีส์ อิศรเสนา ณ อยุธยา. (2560). เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับ STEM Education (สะเต็มศึกษา). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.