Difference between revisions of "Summative การประเมินผลเมื่อสิ้นสุดการเรียนรู้"

From Knowledge sharing space
Jump to: navigation, search
 
(4 intermediate revisions by the same user not shown)
Line 13: Line 13:
  
 
จากสารานุกรมคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (หน้า 39-40) ถูกอ้างถึงใน วศิณีส์ (2560) ได้กล่าวถึงชนิดเครื่องมือวัดและการประเมินผลการศึกษา มีจำนวน 12ชนิด ได้แก่
 
จากสารานุกรมคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (หน้า 39-40) ถูกอ้างถึงใน วศิณีส์ (2560) ได้กล่าวถึงชนิดเครื่องมือวัดและการประเมินผลการศึกษา มีจำนวน 12ชนิด ได้แก่
 +
 
1) แบบทดสอบ (Test)
 
1) แบบทดสอบ (Test)
 +
 
2) แบบจัดอันดับ (Rating Scale)
 
2) แบบจัดอันดับ (Rating Scale)
 +
 
3) แบบสอบถาม (Questionnaire)
 
3) แบบสอบถาม (Questionnaire)
 +
 
4) แบบตรวจสอบรายการ (Checklist)
 
4) แบบตรวจสอบรายการ (Checklist)
 +
 
5) แบบสำรวจ (Survey)
 
5) แบบสำรวจ (Survey)
 +
 
6) แบบสังเกต (Observation)
 
6) แบบสังเกต (Observation)
 +
 
7) แบบสัมภาษณ์ (Interview)
 
7) แบบสัมภาษณ์ (Interview)
 +
 
8) แบบบันทึกเหตุการณ์ และระเบียนสะสม (Anecdotal and Cumulative Record)
 
8) แบบบันทึกเหตุการณ์ และระเบียนสะสม (Anecdotal and Cumulative Record)
 +
 
9) สังคมมิติ (Sociometry)
 
9) สังคมมิติ (Sociometry)
 +
 
10) แบบทดสอบอ้างสถานการณ์ (Situational test)
 
10) แบบทดสอบอ้างสถานการณ์ (Situational test)
 +
 
11) แบบทดสอบสะท้อนภาพ (Projecttive test)
 
11) แบบทดสอบสะท้อนภาพ (Projecttive test)
 +
 
12) แบบทดสอบรายกรณี (Case Study)
 
12) แบบทดสอบรายกรณี (Case Study)
 +
 +
ครูสามารถเลือกใช้วิธีการประเมินผลการสอน STEM ได้หลากหลาย ขึ้นอยู่กับคณะครูที่จะตกลงกันในระดับชั้นหรือในโรงเรียนว่าจะใช้วิธีใดที่จะเหมาะสมกับการจัดการเรียนการสอน วิธีการสอน เนื้อหา ผู้เรียนและเวลา
 +
 +
== เอกสารอ้างอิง ==
 +
 +
วศิณีส์ อิศรเสนา ณ อยุธยา. (2560). เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับ STEM Education(สะเต็มศึกษา). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
 +
Lepi, K. The Key Differences between summative assessments and formatives assessments. Available from: http://www.edudemic.com/summative-and-formative-assessments/ (2018, May 29)

Latest revision as of 11:34, 29 May 2018

ลักษณะของการประเมินผลเมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอน มีดังนี้

  • ประเมินผลอย่างเป็นทางการเพื่อครูและนักเรียนจะได้ทราบว่าผู้เรียนได้รับความรู้แค่ไหน
  • ประเมินผลตามมาตรฐานการเรียนรู้และอย่างเป็นระบบ
  • เน้นผลลัพธ์ที่คุณภาพ ผลการเรียนรู้
  • ตัดสินผลจากเกรด
  • มีบรรทัดฐานในการวัด (Lepi, 2014)

การประเมินผลเมื่อสิ้นสุดการเรียน ได้แก่

  • การสอบหลังบทเรียนหรือการประเมินผลเมื่อสิ้นสุดโครงงาน
  • การประเมินผลเมื่อจบคอร์ส
  • การประเมินผลตามมาตราฐานการเรียนรู้
  • แฟ้มสะสมงาน (วศิณีส์, 2560)

จากสารานุกรมคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (หน้า 39-40) ถูกอ้างถึงใน วศิณีส์ (2560) ได้กล่าวถึงชนิดเครื่องมือวัดและการประเมินผลการศึกษา มีจำนวน 12ชนิด ได้แก่

1) แบบทดสอบ (Test)

2) แบบจัดอันดับ (Rating Scale)

3) แบบสอบถาม (Questionnaire)

4) แบบตรวจสอบรายการ (Checklist)

5) แบบสำรวจ (Survey)

6) แบบสังเกต (Observation)

7) แบบสัมภาษณ์ (Interview)

8) แบบบันทึกเหตุการณ์ และระเบียนสะสม (Anecdotal and Cumulative Record)

9) สังคมมิติ (Sociometry)

10) แบบทดสอบอ้างสถานการณ์ (Situational test)

11) แบบทดสอบสะท้อนภาพ (Projecttive test)

12) แบบทดสอบรายกรณี (Case Study)

ครูสามารถเลือกใช้วิธีการประเมินผลการสอน STEM ได้หลากหลาย ขึ้นอยู่กับคณะครูที่จะตกลงกันในระดับชั้นหรือในโรงเรียนว่าจะใช้วิธีใดที่จะเหมาะสมกับการจัดการเรียนการสอน วิธีการสอน เนื้อหา ผู้เรียนและเวลา

เอกสารอ้างอิง

วศิณีส์ อิศรเสนา ณ อยุธยา. (2560). เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับ STEM Education(สะเต็มศึกษา). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. Lepi, K. The Key Differences between summative assessments and formatives assessments. Available from: http://www.edudemic.com/summative-and-formative-assessments/ (2018, May 29)