Difference between revisions of "Formative การประเมินผลระหว่างการจัดการเรียนรู้"

From Knowledge sharing space
Jump to: navigation, search
(Created page with "ลักษณะของการประเมินผลระหว่างการจัดการเรียนรู้ มีดังนี้ ประเ...")
 
 
(2 intermediate revisions by the same user not shown)
Line 1: Line 1:
 
ลักษณะของการประเมินผลระหว่างการจัดการเรียนรู้ มีดังนี้
 
ลักษณะของการประเมินผลระหว่างการจัดการเรียนรู้ มีดังนี้
ประเมินผลอย่างไม่เป็นทางการเพื่อตรวจสอบความก้าวหน้าของผู้เรียน
+
*ประเมินผลอย่างไม่เป็นทางการเพื่อตรวจสอบความก้าวหน้าของผู้เรียน
ประเมินผลจากการสะท้อนการเรียนของผู้เรียนที่จำเป็นต่อการเรียนรู้ เพื่อครูและเด็กจะได้จัดการเรียนที่ทำให้เด็กประสบความสำเร็จ
+
*ประเมินผลจากการสะท้อนการเรียนของผู้เรียนที่จำเป็นต่อการเรียนรู้ เพื่อครูและเด็กจะได้จัดการเรียนที่ทำให้เด็กประสบความสำเร็จ
ประเมินผลแบบต่อเนื่องเพื่อพัฒนาการเรียนเน้นกระบวนการเรียนรู้
+
*ประเมินผลแบบต่อเนื่องเพื่อพัฒนาการเรียนเน้นกระบวนการเรียนรู้
วินิจฉัยเพื่อปรับปรุง
+
*วินิจฉัยเพื่อปรับปรุง
รูปแบบการวัดที่ยืดหยุ่น (Lepi, 2014)
+
*รูปแบบการวัดที่ยืดหยุ่น (Lepi, 2014)
  
 +
การประเมินผลระหว่างเรียน ได้แก่
 +
*การประเมินผลที่สะท้อนผู้เรียนจากการสนทนา การเขียน และการทำงาน
 +
*การประเมินผลจากหลักสูตร
 +
*การประเมินตนเอง
 +
*การสังเกต
 +
*แฟ้มสะสมงาน (วศิณีส์, 2560)
  
 
== เอกสารอ้างอิง ==
 
== เอกสารอ้างอิง ==
 +
 +
วศิณีส์ อิศรเสนา ณ อยุธยา. (2560). เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับ STEM Education(สะเต็มศึกษา). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
 
Lepi, K. The Key Differences between summative assessments and formatives assessments. Available from: http://www.edudemic.com/summative-and-formative-assessments/ (2018, May 29)
 
Lepi, K. The Key Differences between summative assessments and formatives assessments. Available from: http://www.edudemic.com/summative-and-formative-assessments/ (2018, May 29)

Latest revision as of 10:47, 29 May 2018

ลักษณะของการประเมินผลระหว่างการจัดการเรียนรู้ มีดังนี้

  • ประเมินผลอย่างไม่เป็นทางการเพื่อตรวจสอบความก้าวหน้าของผู้เรียน
  • ประเมินผลจากการสะท้อนการเรียนของผู้เรียนที่จำเป็นต่อการเรียนรู้ เพื่อครูและเด็กจะได้จัดการเรียนที่ทำให้เด็กประสบความสำเร็จ
  • ประเมินผลแบบต่อเนื่องเพื่อพัฒนาการเรียนเน้นกระบวนการเรียนรู้
  • วินิจฉัยเพื่อปรับปรุง
  • รูปแบบการวัดที่ยืดหยุ่น (Lepi, 2014)

การประเมินผลระหว่างเรียน ได้แก่

  • การประเมินผลที่สะท้อนผู้เรียนจากการสนทนา การเขียน และการทำงาน
  • การประเมินผลจากหลักสูตร
  • การประเมินตนเอง
  • การสังเกต
  • แฟ้มสะสมงาน (วศิณีส์, 2560)

เอกสารอ้างอิง

วศิณีส์ อิศรเสนา ณ อยุธยา. (2560). เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับ STEM Education(สะเต็มศึกษา). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. Lepi, K. The Key Differences between summative assessments and formatives assessments. Available from: http://www.edudemic.com/summative-and-formative-assessments/ (2018, May 29)