Difference between revisions of "PLC"

From Knowledge sharing space
Jump to: navigation, search
(แนวทางการพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC))
 
(4 intermediate revisions by the same user not shown)
Line 1: Line 1:
== ความหมายของชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Communicaty:PLC) ==
+
:ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) หมายถึง การรวมตัว ร่วมใจร่วมพลัง ร่วมทำ และร่วมเรียนรู้ร่วมกันของครู ผู้บริหาร และนักการศึกษา บนพื้นฐานวัฒนธรรมความสัมพันธ์แบบกัลยาณมิตร มีวิสัยทัศน์ คุณค่า เป้าหมาย และภารกิจร่วมกัน โดยทำงานร่วมกันแบบทีม เรียนรู้ที่ครูเป็นผู้นำร่วมกัน และผู้บริหารแบบผู้ดูแลสนับสนุนสู่การเรียนรู้และพัฒนาวิชาชีพเปลี่ยนแปลงคุณภาพตนเองสู่คุณภาพการจัดการเรียนรู้ที่เน้นความสำเร็จหรือประสิทธิผลของผู้เรียนเป็นสำคัญและความสุขของการทำงานร่วมกันของสมาชิกในชุมชนการเรียนรู้ [http://www.ubu.ac.th/web/files_up/43f2017010522270287.pdf ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ]
:ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) หมายถึง การรวมตัว ร่วมใจร่วมพลัง ร่วมทำ และร่วมเรียนรู้ร่วมกันของครู ผู้บริหาร และนักการศึกษา บนพื้นฐานวัฒนธรรมความสัมพันธ์แบบกัลยาณมิตร มีวิสัยทัศน์ คุณค่า เป้าหมาย และภารกิจร่วมกัน โดยทำงานร่วมกันแบบทีม เรียนรู้ที่ครูเป็นผู้นำร่วมกัน และผู้บริหารแบบผู้ดูแลสนับสนุนสู่การเรียนรู้และพัฒนาวิชาชีพเปลี่ยนแปลงคุณภาพตนเองสู่คุณภาพการจัดการเรียนรู้ที่เน้นความสำเร็จหรือประสิทธิผลของผู้เรียนเป็นสำคัญและความสุขของการทำงานร่วมกันของสมาชิกในชุมชนการเรียนรู้
+
 
== องค์ประกอบสำคัญของการสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ==
 
== องค์ประกอบสำคัญของการสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ==
 
*ต้องมีวิสัยทัศน์ร่วมกัน มีเป้าหมาย ทิศทางเดียวกัน มุ่งสู่การพัฒนาการเรียนการสอนสู่คุณภาพผู้เรียน
 
*ต้องมีวิสัยทัศน์ร่วมกัน มีเป้าหมาย ทิศทางเดียวกัน มุ่งสู่การพัฒนาการเรียนการสอนสู่คุณภาพผู้เรียน
Line 21: Line 20:
 
##หลักการอะไรที่จะสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติ
 
##หลักการอะไรที่จะสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติ
 
##เราจะเริ่มต้นความรู้ใหม่อย่างไร
 
##เราจะเริ่มต้นความรู้ใหม่อย่างไร
1.3 การออกแบบอะไรที่พวกเราควรใช้ในการตรวจสอบหลักฐานของการเรียนรู้ที่สำคัญ
+
##การออกแบบอะไรที่พวกเราควรใช้ในการตรวจสอบหลักฐานของการเรียนรู้ที่สำคัญ
2. การวางแผนด้วยความร่วมมือ (Plan Cooperatively) สมาชิกของกลุ่มกำหนดสารสนเทศที่ต้องใช้ในการดำเนินการ
+
#การวางแผนด้วยความร่วมมือ (Plan Cooperatively) สมาชิกของกลุ่มกำหนดสารสนเทศที่ต้องใช้ในการดำเนินการ
3. การกำหนดความคาดหวังในระดับสูง (Set high expectations) และวิเคราะห์การสอนสืบเสาะหาวิธีการที่จะทำให้ประสบผลสำเร็จสูงสุด
+
#การกำหนดความคาดหวังในระดับสูง (Set high expectations) และวิเคราะห์การสอนสืบเสาะหาวิธีการที่จะทำให้ประสบผลสำเร็จสูงสุด
3.1 ทดสอบข้อตกลงที่เกี่ยวข้องกับการสอนหลังจากได้มีการจัดเตรียมต้นแบบที่เป็นการวางแผนระยะยาว (Long-term)
+
##ทดสอบข้อตกลงที่เกี่ยวข้องกับการสอนหลังจากได้มีการจัดเตรียมต้นแบบที่เป็นการวางแผนระยะยาว (Long-term)
3.2 จัดให้มีช่วงเวลาของการชี้แนะ โดยเน้นการนำไปใช้ในชั้นเรียน
+
##จัดให้มีช่วงเวลาของการชี้แนะ โดยเน้นการนำไปใช้ในชั้นเรียน
3.3 ให้เวลาสำหรับครูที่มีความยุ่งยากในการสังเกตการณ์ปฏิบัติในชั้นเรียนของครูที่สร้างบรรยากาศในการเรียนรู้อย่างประสบผลสำเร็จ
+
##ให้เวลาสำหรับครูที่มีความยุ่งยากในการสังเกตการณ์ปฏิบัติในชั้นเรียนของครูที่สร้างบรรยากาศในการเรียนรู้อย่างประสบผลสำเร็จ
4. เริ่มต้นจากจุดเล็กๆ (Start small) เริ่มต้นจากการใช้กลุ่มเล็กๆ ก่อน แล้วค่อยปรับขยาย
+
#เริ่มต้นจากจุดเล็กๆ (Start small) เริ่มต้นจากการใช้กลุ่มเล็กๆ ก่อน แล้วค่อยปรับขยาย
5. ศึกษาและใช้ข้อมูล (Study and use the data) ตรวจสอบผลการนำไปใช้และการสะท้อนผลเพื่อนำมากำหนดว่า แผนไหน ควรใช้ต่อไป/แผนไหนควรปรับปรุงหรือยกเลิก
+
#ศึกษาและใช้ข้อมูล (Study and use the data) ตรวจสอบผลการนำไปใช้และการสะท้อนผลเพื่อนำมากำหนดว่า แผนไหน ควรใช้ต่อไป/แผนไหนควรปรับปรุงหรือยกเลิก
6. วางแผนเพื่อความสำเร็จ (Plan for success) เรียนรู้จากอดีต ปรับปรุงหรือปฏิเสธในสิ่งที่ไม่สำเร็จ และทำต่อไป ความสำเร็จในอนาคต หรือความล้มเหลวขึ้นอยู่กับเจตคติและพฤติกรรมของครู
+
#วางแผนเพื่อความสำเร็จ (Plan for success) เรียนรู้จากอดีต ปรับปรุงหรือปฏิเสธในสิ่งที่ไม่สำเร็จ และทำต่อไป ความสำเร็จในอนาคต หรือความล้มเหลวขึ้นอยู่กับเจตคติและพฤติกรรมของครู
7. นำสู่สาธารณะ (Go public) แผนไหนที่สำเร็จก็จะมีการเชิญชวนให้คนอื่นเข้ามามีส่วนร่วม      ยกย่องและแลกเปลี่ยนความสำเร็จ
+
#นำสู่สาธารณะ (Go public) แผนไหนที่สำเร็จก็จะมีการเชิญชวนให้คนอื่นเข้ามามีส่วนร่วม      ยกย่องและแลกเปลี่ยนความสำเร็จ
8. ฝึกฝนร่างกายและหล่อเลี้ยงสมอง  (Exercise the body & nourish the brain) จัดกิจกรรมที่ได้มีการเคลื่อนไหวและ เตรียมครูที่ทำงานสำเร็จของแต่ละกลุ่มโดยมีการจัดอาหาร เครื่องดื่มที่มีประโยชน์
+
#ฝึกฝนร่างกายและหล่อเลี้ยงสมอง  (Exercise the body & nourish the brain) จัดกิจกรรมที่ได้มีการเคลื่อนไหวและ เตรียมครูที่ทำงานสำเร็จของแต่ละกลุ่มโดยมีการจัดอาหาร เครื่องดื่มที่มีประโยชน์
 +
 
 
== แนวทางการพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ==
 
== แนวทางการพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ==
แนวทางการพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ การพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพให้ประสบความสำเร็จ มีการดำเนินงานใน 3 มิติ คือ
+
แนวทางการพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ การพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพให้ประสบความสำเร็จ มีการดำเนินงานใน 3 มิติ คือ
1. มิติการหนุนเสริม เป็นมิติเกี่ยวกับปัจจัยและกระบวนการที่จะขับเคลื่อนชุมชนแห่งการเรียนรู้วิชาชีพ เป็น บทบาทของผู้บริหาร ทีมบริหารจัดการและอำนวยความสะดวก
+
#มิติการหนุนเสริม เป็นมิติเกี่ยวกับปัจจัยและกระบวนการที่จะขับเคลื่อนชุมชนแห่งการเรียนรู้วิชาชีพ เป็น บทบาทของผู้บริหาร ทีมบริหารจัดการและอำนวยความสะดวก
2. มิติวิธีการพัฒนาครู เป็นเครื่องมือพัฒนาครู ในการพัฒนานักเรียน
+
#มิติวิธีการพัฒนาครู เป็นเครื่องมือพัฒนาครู ในการพัฒนานักเรียน
3. มิติผลที่จะเกิดกับผู้เรียน เป็น “หัวใจในการทำงาน” เป็นมิติที่เกี่ยวกับ ความสามารถ/คุณลักษณะอันพึงประสงค์/ แนวทางการทํางานและการเรียนรู้ของผู้เรียน/การพัฒนําความสามารถตามศักยภาพของผู้เรียน
+
#มิติผลที่จะเกิดกับผู้เรียน เป็น “หัวใจในการทำงาน” เป็นมิติที่เกี่ยวกับ ความสามารถ/คุณลักษณะอันพึงประสงค์/ แนวทางการทํางานและการเรียนรู้ของผู้เรียน/การพัฒนําความสามารถตามศักยภาพของผู้เรียน
  
 
[[category: PLC,ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ,]]
 
[[category: PLC,ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ,]]

Latest revision as of 10:26, 18 May 2018

ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) หมายถึง การรวมตัว ร่วมใจร่วมพลัง ร่วมทำ และร่วมเรียนรู้ร่วมกันของครู ผู้บริหาร และนักการศึกษา บนพื้นฐานวัฒนธรรมความสัมพันธ์แบบกัลยาณมิตร มีวิสัยทัศน์ คุณค่า เป้าหมาย และภารกิจร่วมกัน โดยทำงานร่วมกันแบบทีม เรียนรู้ที่ครูเป็นผู้นำร่วมกัน และผู้บริหารแบบผู้ดูแลสนับสนุนสู่การเรียนรู้และพัฒนาวิชาชีพเปลี่ยนแปลงคุณภาพตนเองสู่คุณภาพการจัดการเรียนรู้ที่เน้นความสำเร็จหรือประสิทธิผลของผู้เรียนเป็นสำคัญและความสุขของการทำงานร่วมกันของสมาชิกในชุมชนการเรียนรู้ ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ

องค์ประกอบสำคัญของการสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC)

  • ต้องมีวิสัยทัศน์ร่วมกัน มีเป้าหมาย ทิศทางเดียวกัน มุ่งสู่การพัฒนาการเรียนการสอนสู่คุณภาพผู้เรียน
  • ร่วมแรง ร่วมใจ และร่วมมือ ต้องเปิดใจ รับฟัง เสนอวิธีการ นำสู่การปฏิบัติและประเมินร่วมกัน Open เปิดใจรับ และให้ care และ Share
  • ภาวะผู้นำร่วมการทำ(PLC)ต้องมีผู้นำและผู้ตามในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
  • กัลยาณมิตรเป็นเพื่อนร่วมวิชาชีพ เติมเต็มส่วนที่ขาดของแต่ละคน
  • ต้องปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร เน้นการทำงานที่เปิดโอกาส การทำงานท่ีช่วยเหลือกันมากกว่า การสั่งการ มีชั่วโมงพูดคุยหารือร่วมกัน
  • การเรียนรู้และพัฒนาวิชาชีพ การเรียนรู้การปฏิบัติงาน และตรงกับภาระงาน คือ การสอนสู่คุณภาพผู้เรียน

วิธีการหรือกระบวนการในการทำชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC)

PLC มีวีธิกีารทางาน(กระบวนการ)ดังนี้

  1. ต้องมีการรวมกลุ่มและกลุ่มนั้นต้องมีลักษณะ คล้ายๆกัน
  2. บทบาทของบุคคลในการทำPLC
  3. กลุ่มร่วมกันคิด "ปัญหาการเรียนรู้ของนักเรียน" หาปัญหาสำคัญที่สุด สิ่งที่ต้องระวัง คือ การไม่ช่วยกันค้นหาปัญหาท่ีแท้จริง ผลักปัญหาออกจากตัว
  4. หาสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดปัญหา
  5. หาแนวทางแก้ไข "ปัญหาการเรียนรู้ของนักเรียน" ที่สำคัญนั้นจะแก้ไขอย่างไร ดูสาเหตุของปัญหา แนวทางแก้ปัญหาอาจใช้ประสบการณ์ของครูที่ทำให้เกิดความสำเร็จ ผู้ทรงคุณวุฒิ งานวิจัย หรือแหล่งอื่นๆที่มีการเสนอแนวทางไว้แล้ว
  6. นำแนวทางที่สรุปเพื่อนำไปแก้ไขปัญหามาช่วยกันสร้างงานสร้างแผนงาน

กลยุทธ์ในการจัดการและใช้ชุมชนแห่งการเรียนทางรู้วิชาชีพ(PLC)

กลยุทธ์ในการจัดการและใช้ชุมชนแห่งการเรียนทางรู้วิชาชีพ (PLC) อย่างยั่งยืน ดำเนินการได้ดังนี้

  1. เริ่มต้นด้วยขั้นตอนง่ายๆ (Take a baby steps) โดยเริ่มต้นจากการกำหนดเป้าหมาย อภิปราย สะท้อนผล แลกเปลี่ยนกับคนอื่นๆ เพื่อกำหนดว่า จะดำเนินการอย่างไร โดยพิจารณาและสะท้อนผลในประเด็นต่อไปนี้
    1. หลักการอะไรที่จะสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติ
    2. เราจะเริ่มต้นความรู้ใหม่อย่างไร
    3. การออกแบบอะไรที่พวกเราควรใช้ในการตรวจสอบหลักฐานของการเรียนรู้ที่สำคัญ
  2. การวางแผนด้วยความร่วมมือ (Plan Cooperatively) สมาชิกของกลุ่มกำหนดสารสนเทศที่ต้องใช้ในการดำเนินการ
  3. การกำหนดความคาดหวังในระดับสูง (Set high expectations) และวิเคราะห์การสอนสืบเสาะหาวิธีการที่จะทำให้ประสบผลสำเร็จสูงสุด
    1. ทดสอบข้อตกลงที่เกี่ยวข้องกับการสอนหลังจากได้มีการจัดเตรียมต้นแบบที่เป็นการวางแผนระยะยาว (Long-term)
    2. จัดให้มีช่วงเวลาของการชี้แนะ โดยเน้นการนำไปใช้ในชั้นเรียน
    3. ให้เวลาสำหรับครูที่มีความยุ่งยากในการสังเกตการณ์ปฏิบัติในชั้นเรียนของครูที่สร้างบรรยากาศในการเรียนรู้อย่างประสบผลสำเร็จ
  4. เริ่มต้นจากจุดเล็กๆ (Start small) เริ่มต้นจากการใช้กลุ่มเล็กๆ ก่อน แล้วค่อยปรับขยาย
  5. ศึกษาและใช้ข้อมูล (Study and use the data) ตรวจสอบผลการนำไปใช้และการสะท้อนผลเพื่อนำมากำหนดว่า แผนไหน ควรใช้ต่อไป/แผนไหนควรปรับปรุงหรือยกเลิก
  6. วางแผนเพื่อความสำเร็จ (Plan for success) เรียนรู้จากอดีต ปรับปรุงหรือปฏิเสธในสิ่งที่ไม่สำเร็จ และทำต่อไป ความสำเร็จในอนาคต หรือความล้มเหลวขึ้นอยู่กับเจตคติและพฤติกรรมของครู
  7. นำสู่สาธารณะ (Go public) แผนไหนที่สำเร็จก็จะมีการเชิญชวนให้คนอื่นเข้ามามีส่วนร่วม ยกย่องและแลกเปลี่ยนความสำเร็จ
  8. ฝึกฝนร่างกายและหล่อเลี้ยงสมอง (Exercise the body & nourish the brain) จัดกิจกรรมที่ได้มีการเคลื่อนไหวและ เตรียมครูที่ทำงานสำเร็จของแต่ละกลุ่มโดยมีการจัดอาหาร เครื่องดื่มที่มีประโยชน์

แนวทางการพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC)

แนวทางการพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ การพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพให้ประสบความสำเร็จ มีการดำเนินงานใน 3 มิติ คือ

  1. มิติการหนุนเสริม เป็นมิติเกี่ยวกับปัจจัยและกระบวนการที่จะขับเคลื่อนชุมชนแห่งการเรียนรู้วิชาชีพ เป็น บทบาทของผู้บริหาร ทีมบริหารจัดการและอำนวยความสะดวก
  2. มิติวิธีการพัฒนาครู เป็นเครื่องมือพัฒนาครู ในการพัฒนานักเรียน
  3. มิติผลที่จะเกิดกับผู้เรียน เป็น “หัวใจในการทำงาน” เป็นมิติที่เกี่ยวกับ ความสามารถ/คุณลักษณะอันพึงประสงค์/ แนวทางการทํางานและการเรียนรู้ของผู้เรียน/การพัฒนําความสามารถตามศักยภาพของผู้เรียน