Difference between revisions of "เทคนิคการวิจัยเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้"

From Knowledge sharing space
Jump to: navigation, search
(Created page with " == ความสำคัญของการวิจัยเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ == == ลักษณะสำ...")
 
(ความสำคัญของการวิจัยเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้)
Line 2: Line 2:
 
== ความสำคัญของการวิจัยเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ==
 
== ความสำคัญของการวิจัยเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ==
  
 +
ช่วยลดปัญหาในการเรียนรู้และพัฒนาคุณภาพผู้เรียน 
 +
ในการจัดการเรียนรู้ครูต้องกำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้หรือทักษะที่ผู้เรียนได้รับจากการเรียนรู้  เมื่อครูได้จัดการเรียนรู้แล้วอาจพบว่าผลลัพธ์ที่ได้ไม่เป็นไปตามจุดประสงค์การเรียนรู้  ซึ่งแสดงว่าได้เกิดปัญหาการเรียนรู้แล้ว  ปัญหาการเรียนรู้ดังกล่าวนี้จะยังคงมีอยู่ต่อไปและส่งผลต่อคุณภาพของผู้เรียน หากครูยังไม่ได้คิดหาวิธีการแก้ไข  แต่ถ้าครูมีความปรารถนาดีต่อผู้เรียนในฐานะลูกศิษย์  และมีความสำนึกรับผิดชอบต่อคุณภาพของผู้เรียน  แล้วคิดหาวิธีการหรือใช้นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมเพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนก็จะช่วยให้ปัญหาลดลงหรือหมดไป  ผู้เรียนก็จะมีคุณภาพ  การดำเนินงานของครูในลักษณะดังกล่าวถือว่าครูได้ทำการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้แล้ว  ซึ่งช่วยขจัดปัญหาการเรียนรู้ของผู้เรียนและพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาที่กำหนดไว้
 +
 +
ได้สื่อนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ 
 +
ในการทำวิจัยเพื่อพัฒนาทักษะผู้เรียน ครูได้มีโอกาสคิดหาวิธีการ
 +
หรือใช้นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ประเภทต่างๆ  สำหรับแก้ปัญหาเพื่อพัฒนาผู้เรียน  ถ้าวิธีการหรือนวัตกรรมดังกล่าวสามารถแก้ปัญหาการเรียนรู้ให้มีคุณภาพได้ถือว่าวิธีการหรือนวัตกรรมนั้นมีประสิทธิภาพและเป็นประโยชน์ต่อครูที่จะได้เรียนรู้  ดูเป็นแบบอย่าง  และนำไปปรับใช้หรือเป็นแนวทางในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนของตนเองได้  การวิจัยเพื่อการพัฒนาการเรียนรู้จึงมีส่วนสำคัญที่ช่วยให้ได้สื่อ  นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ประกอบวิชาชีพครู
 +
 +
มีฐานะข้อมูลสาระสนเทศเพื่อการวางแผนพัฒนาโรงเรียน  ในการวางแผนพัฒนาโรงเรียนต้องอาศัย
 +
ข้อมูลสารสนเทศที่มีคุณภาพ  ซึ่งสามารถนำไปใช้วางแผนพัฒนาโรงเรียนได้อย่างถูกทิศทาง  ข้อมูลสารสนเทศที่ถูกต้องทำให้การวางแผนถูกต้อง  ข้อมูลสารสนเทศที่ได้มาอย่างรวดเร็วทำให้โรงเรียนตัดสินใจได้เร็วไม่ล้าสมัย  โรงเรียนจึงต้องมีฐานข้อมูลสารสนเทศในการพัฒนาโรงเรียน  ซึ่งประกอบด้วยระบบฐานข้อมูลสำคัญ  3  ฐาน  ข้อมูลหลักคือ  ฐานข้อมูลเพื่อพัฒนาการเรียนรู้  ฐานข้อมูลเพื่อพัฒนาหลักสูตรและการสอน  และฐานข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการ  (สุวิมล ว่องวานิช,2550 : 1-3) ฐานข้อมูลทั้ง  3  ส่วนได้มาจากครูนักวิจัยในโรงเรียนซึ่งครูส่วนหนึ่งเมื่อทำวิจัยแล้วอาจทำให้ได้ข้อมูลที่นำไปสู่ฐานข้อมูลการเรียนรู้  ในขณะที่งานวิจัยของครูอีกส่วนหนึ่งอาจนำไปสู่ฐานข้อมูลเพื่อพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอน  และครูบางคาทำวิจัยแล้วช่วยให้ได้ฐานข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการโรงเรียนครูที่ทำวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้จึงมีส่วนสำคัญในการช่วยให้ได้ฐานข้อมูลเพื่อการวางแผนพัฒนาโรงเรียน
 +
 +
ช่วยเพิ่มพูนความรู้ทางวิชาชีพของครู  ครูที่ได้วิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้จะทำให้ครูมีความรู้  ทักษะ  และ
 +
ประสบการณ์ในการแก้ปัญหาและพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน  ซึ่งจะช่วยครูได้เพิ่มพูนความรู้ทางวิชาชีพของครูมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง  ซึ่งแมกนีฟฟ์ (McNiff,1995: 21-22)  กล่าวว่า  การวิจัยปฏิบัติการหรือการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้  ช่วยให้ครูเห็นผลของการได้เพิ่มพูนความรู้ทางวิชาชีพ  3  ประการ คือ
 +
4.1  การวิจัยที่ครูทำ  ช่วยตรวจสอบการปฏิบัติงานวิชาชีพของครูว่าปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนมี
 +
ความก้าวหน้าและพัฒนาไปถึงระดับความคาดหวังที่ครูตั้งไว้หรือไม่
 +
4.2  การแลกเปลี่ยนความรู้จากงานวิจัยที่ได้ทำระหว่างครูนักวิจัย  เพื่อนร่วมวิชาชีพ  และบุคลากร
 +
ทางการศึกษาที่เกี่ยวข้อง  จะทำให้ครูเกิดการเรียนรู้และเพิ่มพูนความรู้ทางวิชาชีพที่สามารถประเมินการปฏิบัติงานของครู  และปรับปรุง  พัฒนาการปฏิบัติงานทางวิชาชีพของครูให้มีมาตรฐานสูงขึ้น
 +
4.3  จากการที่ครูนักวิจัยได้เรียนรู้และมีประสบการณ์ด้านงานวิจัย  ครูสามารถกำหนดมาตรฐานหรือ
 +
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพงานของครูได้เอง  โดยใช้มาตรฐานหรือเกณฑ์เดียวกับผู้อื่นใช้ตัดสินคุณภาพงานของครู  และปรับให้เข้ากับวิธีการของผู้อื่นที่ได้จัดว่าเป็นการพัฒนาทางวิชาชีพครูและครูควรจะได้เรียนรู้ทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง  ซึ่งจะทำให้มีการเพิ่มพูนความรู้  ความก้าวหน้าทางวิชาชีพครู  ดังนั้นจึงควรพิจารณาให้เห็นถึงความสำคัญของการวิจัยเพื่อการเรียนรู้สำหรับเป็นฐานของการพัฒนาวิชาชีพครูอย่างยั่งยืนต่อไป
 +
 +
ช่วยยกระดับมาตรฐานวิชาชีพครู  การที่ครูได้ทำวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้และมีการส่งเสริมสนับสนุน
 +
ของสถาบันการศึกษาและหน่วยงานทางการศึกษาให้ครูได้ร่วมประชุมสัมมนานำเสนอผลงานวิจัยอย่างต่อเนื่อง  ทำให้เกิดพัฒนาทักษะด้านการวิจัยและมีผลงานวิจัยของครูเพิ่มขึ้นรวมทั้งมีการสร้างเครือข่ายการเรียนรู้และการพัฒนาการวิจัยของครูเพิ่มมากขึ้น  ครูได้พัฒนาการจัดการการเรียนรู้โดยกระบวนการวิจัยเป็นฐาน ซึ่งจะทำให้หลักการจัดการเรียนการสอนมีความก้าวหน้าพัฒนาและมีความเข้มแข็งยิ่งขึ้น  เป็นการยกระดับมาตรฐานการทำงานของครูหรือวิชาชีพครูให้มีมาตรฐานสูงขึ้น
  
 
== ลักษณะสำคัญของการวิจัยเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ==
 
== ลักษณะสำคัญของการวิจัยเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ==

Revision as of 14:41, 2 October 2018

ความสำคัญของการวิจัยเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้

ช่วยลดปัญหาในการเรียนรู้และพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ในการจัดการเรียนรู้ครูต้องกำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้หรือทักษะที่ผู้เรียนได้รับจากการเรียนรู้ เมื่อครูได้จัดการเรียนรู้แล้วอาจพบว่าผลลัพธ์ที่ได้ไม่เป็นไปตามจุดประสงค์การเรียนรู้ ซึ่งแสดงว่าได้เกิดปัญหาการเรียนรู้แล้ว ปัญหาการเรียนรู้ดังกล่าวนี้จะยังคงมีอยู่ต่อไปและส่งผลต่อคุณภาพของผู้เรียน หากครูยังไม่ได้คิดหาวิธีการแก้ไข แต่ถ้าครูมีความปรารถนาดีต่อผู้เรียนในฐานะลูกศิษย์ และมีความสำนึกรับผิดชอบต่อคุณภาพของผู้เรียน แล้วคิดหาวิธีการหรือใช้นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมเพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนก็จะช่วยให้ปัญหาลดลงหรือหมดไป ผู้เรียนก็จะมีคุณภาพ การดำเนินงานของครูในลักษณะดังกล่าวถือว่าครูได้ทำการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้แล้ว ซึ่งช่วยขจัดปัญหาการเรียนรู้ของผู้เรียนและพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาที่กำหนดไว้

ได้สื่อนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ ในการทำวิจัยเพื่อพัฒนาทักษะผู้เรียน ครูได้มีโอกาสคิดหาวิธีการ หรือใช้นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ประเภทต่างๆ สำหรับแก้ปัญหาเพื่อพัฒนาผู้เรียน ถ้าวิธีการหรือนวัตกรรมดังกล่าวสามารถแก้ปัญหาการเรียนรู้ให้มีคุณภาพได้ถือว่าวิธีการหรือนวัตกรรมนั้นมีประสิทธิภาพและเป็นประโยชน์ต่อครูที่จะได้เรียนรู้ ดูเป็นแบบอย่าง และนำไปปรับใช้หรือเป็นแนวทางในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนของตนเองได้ การวิจัยเพื่อการพัฒนาการเรียนรู้จึงมีส่วนสำคัญที่ช่วยให้ได้สื่อ นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ประกอบวิชาชีพครู

มีฐานะข้อมูลสาระสนเทศเพื่อการวางแผนพัฒนาโรงเรียน ในการวางแผนพัฒนาโรงเรียนต้องอาศัย ข้อมูลสารสนเทศที่มีคุณภาพ ซึ่งสามารถนำไปใช้วางแผนพัฒนาโรงเรียนได้อย่างถูกทิศทาง ข้อมูลสารสนเทศที่ถูกต้องทำให้การวางแผนถูกต้อง ข้อมูลสารสนเทศที่ได้มาอย่างรวดเร็วทำให้โรงเรียนตัดสินใจได้เร็วไม่ล้าสมัย โรงเรียนจึงต้องมีฐานข้อมูลสารสนเทศในการพัฒนาโรงเรียน ซึ่งประกอบด้วยระบบฐานข้อมูลสำคัญ 3 ฐาน ข้อมูลหลักคือ ฐานข้อมูลเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ ฐานข้อมูลเพื่อพัฒนาหลักสูตรและการสอน และฐานข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการ (สุวิมล ว่องวานิช,2550 : 1-3) ฐานข้อมูลทั้ง 3 ส่วนได้มาจากครูนักวิจัยในโรงเรียนซึ่งครูส่วนหนึ่งเมื่อทำวิจัยแล้วอาจทำให้ได้ข้อมูลที่นำไปสู่ฐานข้อมูลการเรียนรู้ ในขณะที่งานวิจัยของครูอีกส่วนหนึ่งอาจนำไปสู่ฐานข้อมูลเพื่อพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอน และครูบางคาทำวิจัยแล้วช่วยให้ได้ฐานข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการโรงเรียนครูที่ทำวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้จึงมีส่วนสำคัญในการช่วยให้ได้ฐานข้อมูลเพื่อการวางแผนพัฒนาโรงเรียน

ช่วยเพิ่มพูนความรู้ทางวิชาชีพของครู ครูที่ได้วิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้จะทำให้ครูมีความรู้ ทักษะ และ ประสบการณ์ในการแก้ปัญหาและพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน ซึ่งจะช่วยครูได้เพิ่มพูนความรู้ทางวิชาชีพของครูมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งแมกนีฟฟ์ (McNiff,1995: 21-22) กล่าวว่า การวิจัยปฏิบัติการหรือการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ ช่วยให้ครูเห็นผลของการได้เพิ่มพูนความรู้ทางวิชาชีพ 3 ประการ คือ 4.1 การวิจัยที่ครูทำ ช่วยตรวจสอบการปฏิบัติงานวิชาชีพของครูว่าปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนมี ความก้าวหน้าและพัฒนาไปถึงระดับความคาดหวังที่ครูตั้งไว้หรือไม่ 4.2 การแลกเปลี่ยนความรู้จากงานวิจัยที่ได้ทำระหว่างครูนักวิจัย เพื่อนร่วมวิชาชีพ และบุคลากร ทางการศึกษาที่เกี่ยวข้อง จะทำให้ครูเกิดการเรียนรู้และเพิ่มพูนความรู้ทางวิชาชีพที่สามารถประเมินการปฏิบัติงานของครู และปรับปรุง พัฒนาการปฏิบัติงานทางวิชาชีพของครูให้มีมาตรฐานสูงขึ้น 4.3 จากการที่ครูนักวิจัยได้เรียนรู้และมีประสบการณ์ด้านงานวิจัย ครูสามารถกำหนดมาตรฐานหรือ เกณฑ์การตัดสินคุณภาพงานของครูได้เอง โดยใช้มาตรฐานหรือเกณฑ์เดียวกับผู้อื่นใช้ตัดสินคุณภาพงานของครู และปรับให้เข้ากับวิธีการของผู้อื่นที่ได้จัดว่าเป็นการพัฒนาทางวิชาชีพครูและครูควรจะได้เรียนรู้ทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะทำให้มีการเพิ่มพูนความรู้ ความก้าวหน้าทางวิชาชีพครู ดังนั้นจึงควรพิจารณาให้เห็นถึงความสำคัญของการวิจัยเพื่อการเรียนรู้สำหรับเป็นฐานของการพัฒนาวิชาชีพครูอย่างยั่งยืนต่อไป

ช่วยยกระดับมาตรฐานวิชาชีพครู การที่ครูได้ทำวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้และมีการส่งเสริมสนับสนุน ของสถาบันการศึกษาและหน่วยงานทางการศึกษาให้ครูได้ร่วมประชุมสัมมนานำเสนอผลงานวิจัยอย่างต่อเนื่อง ทำให้เกิดพัฒนาทักษะด้านการวิจัยและมีผลงานวิจัยของครูเพิ่มขึ้นรวมทั้งมีการสร้างเครือข่ายการเรียนรู้และการพัฒนาการวิจัยของครูเพิ่มมากขึ้น ครูได้พัฒนาการจัดการการเรียนรู้โดยกระบวนการวิจัยเป็นฐาน ซึ่งจะทำให้หลักการจัดการเรียนการสอนมีความก้าวหน้าพัฒนาและมีความเข้มแข็งยิ่งขึ้น เป็นการยกระดับมาตรฐานการทำงานของครูหรือวิชาชีพครูให้มีมาตรฐานสูงขึ้น

ลักษณะสำคัญของการวิจัยเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้

จุดเริ่มต้นของการวิจัย

ความแตกต่างระหว่างการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้และการวิจัยเชิงวิชาการ